Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-22




               ขยายการชลประทาน และมีความสอดคลองกับนโยบายที่กําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

               ตั้งแตฉบับที่ 3- ฉบับที่ 6

                                     (6.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                                     ผลจากนโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ มีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ
               ขนาดกลาง และขนาดเล็กอยางตอเนื่องเชนเดียวกับในชวงแผนพัฒนาฯ ที่ผานมา รวมทั้งการจัดหาน้ําเพื่อ

               อุปโภคบริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการขุดเจาะบอบาดาล รวมทั้งการผันน้ําจากลุมน้ําแมกลองไป
               ยังลุมน้ําเจาพระยาเพื่อการประปาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แกไขปญหาการขาดแคลน
               น้ําประปาเมืองพัทยาและเทศบาลอําเภอหัวหิน ตลอดจนเรงรัดระบบประปาชนบท ในดานการพัฒนาการ
               เกษตรชลประทานไดมีการศึกษาโครงการกระจายการผลิตในเขตชลประทานราษฎรภาคเหนือ มีการ

               ชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติทั้งภัยแลงและอุทกภัย ไดกําหนดใหป พ.ศ. 2534 เปนปขจัดน้ําเสีย และมี
               การจัดทําระบบกําจัดน้ําเสียในกรุงเทพมหานคร และที่รังสิต ปทุมธานี เชียงใหม ภูเก็ต พัทยา และสกลนคร
               มีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ยม-นาน ผลจากนโยบายที่สําคัญคือ การจัดตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ํา

               แหงชาติ (กทช.) เปนองคกรสูงสุดในการกําหนดนโยบายและแผนงานดานการพัฒนาทรัพยากรน้ําของ
               ประเทศ รวมทั้งจัดตั้ง สํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ในสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
                                     อยางไรก็ตามในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ไดเริ่มมีการตอตานโครงการเขื่อนน้ําโจน
               จังหวัดกาญจนบุรีและโครงการเขื่อนแกงกรุง จังหวัดสุราษฎรธานี จนรัฐบาลไดมีการชะลอโครงการออกไป
                                     มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ดังนี้ (1) เขื่อนทับเสลา

               (2) เขื่อนหนองปลาไหล (3) เขื่อนกุมภวาป (4) เขื่อนปากมูล

                                     (6.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง
                                     “นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับ

               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 และนโยบายจากการแถลงของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา
               ในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก เพื่อชวยเหลือราษฎรที่ขาดแคลนน้ํา โดยเฉพาะในภาค
               ตะวันออกเฉียงเหนือ การอนุรักษแหลงน้ําโดยการวางระบบกําจัดน้ําเสียที่จังหวัดปทุมธานี คลองผดุงกรุงเกษม

               และที่จังหวัดเชียงใหม ภูเก็ต พัทยา และสกลนคร รวมทั้งในกรุงเทพมหานคร มีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําใน
               ลุมน้ํายม ลุมน้ํานาน ลุมน้ํามูล-ชี รวมทั้งปรับปรุงระบบการบริหาร สวนในเรื่องการพัฒนาระบบขอมูลทรัพยากรน้ํา
               คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2530 ใหหนวยงานที่รับผิดชอบการกอสรางแหลงน้ําสงขอมูลแหลง
               น้ําขนาดตางๆ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติรวบรวม
                                     อยางไรก็ตาม ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ถึงแมจะมีการกําหนดใหมีองคกรราษฎร

               เขามามีสวนรวมในการพัฒนาแหลงน้ําก็ตาม แตไดมีการตอตานการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ
               จากนักวิชาการและราษฎร ในทองที่ที่จะกอสราง เชน เขื่อนน้ําโจน จังหวัดกาญจนบุรี เขื่อนแกงกรุง
               จังหวัดสุราษฎรธานี เขื่อนแกงเสือเตน จังหวัดแพร จนไมสามารถกอสรางได รวมทั้งเขื่อนปากมูลที่มีการตอตานตั้งแต

               เริ่มกอสรางจนแลวเสร็จ ก็ยังมีปญหาในการเปดปดประตูน้ํา ในเรื่องนี้ไมมีนโยบายในการแถลงของคณะรัฐมนตรี
               ตอรัฐสภาแตอยางใด นโยบายดังกลาวนี้มาจากมติคณะรัฐมนตรีที่มอบหมายใหหนวยงานตางๆ ดําเนินการ”
                                     นอกจากนี้ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ยังไมมีการเก็บคาน้ําจากเกษตรกรแตอยางใด
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36