Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-24




               โครงการที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 นโยบายที่เพิ่มเติมคือการเรงรัดการจัดตั้งองคกรระดับชาติ โดย

               มีกฎหมายรองรับ ซึ่งเคยกําหนดใหมีหนวยงานกลางระดับสูงในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 และใหจัดทําแผนงาน
               จัดสรรงบประมาณดานการพัฒนาแหลงน้ําทุกประเภทในรูปของกลุมโครงการตางๆ อยางเปนระบบลุมน้ํา
               ตามสภาพของปญหา

                                     (7.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา

                                     รัฐบาลคณะที่ 48 นรม. : พลเอก สุจินดา คราประยูร(7 เม.ย 35 – 9 มิ.ย 35)
                                     “รวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการพัฒนาแหลงน้ํา สนับสนุนใหภาคเอกชนมี
               บทบาทในการจัดน้ําเพื่ออุตสาหกรรม เก็บคาธรรมเนียมการใชน้ําที่มิใชเพื่อการเกษตรในอัตราที่เหมาะสม
               รวมทั้งการแกไขปญหาภัยแลงโดยการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล การปฏิบัติการฝนหลวง การขุดคลอง หนอง บึง”


                                     รัฐบาลคณะที่ 49 นรม. : นายอานันท ปนยารชุน (10 มิ.ย 35 – 22 ก.ย 35)
                                     “เรงรัดโครงการจัดหาน้ําสะอาดใหทั่วถึงทุกหมูบาน”

                                     รัฐบาลคณะที่ 50 นรม. : นายชวน  หลีกภัย (23 ก.ย 2535 – 13 ก.ค 2538)
                                     “เรงรัดพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติ แหลงน้ําในไรนา  ตลอดจนการกระจายการกอสราง
               แหลงน้ําขนาดเล็ก พัฒนาแหลงกักเก็บน้ําในลุมน้ําตางๆ เพื่อชวยแกปญหาการขาดแคลนน้ําเพื่อการอุปโภค
               บริโภค และการเกษตรกรรม ในระยะยาวจะนําทรัพยากรน้ําจากแหลงน้ํานานาชาติเขามาใชประโยชนตามสิทธิที่
               ประเทศไทยพึงมี รวมทั้งปรับปรุงการบริหารการใชน้ําชลประทานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น”


                                     รัฐบาลคณะที่ 51 นรม. : นายบรรหาร ศิลปอาชา (13 ก.ค 2538 – 25 พ.ย 2539)
                                     “จัดหาน้ําใหมีเพียงพอสําหรับการเกษตรและการอุปโภคบริโภค ดวยการพัฒนา
               แหลงน้ําและแหลงน้ําธรรมชาติ กอสรางแหลงน้ําขนาดเล็ก และที่กักเก็บน้ําตามความเหมาะสมและจําเปน

               ตลอดจนรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการนําทรัพยากรน้ําจากแหลงน้ํานานาชาติมาใชประโยชนรวมทั้ง
               พัฒนาระบบชลประทานใหทั่วถึงควบคูกับการปรับปรุงระบบการบริหารการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น”
                                     สาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐทั้ง 4 คณะ มีความ

               สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 ในเรื่อง การพัฒนาแหลงน้ําขนาดตางๆ
               การจัดหาน้ําอุปโภคบริโภค และการอนุรักษ การเก็บคาน้ําที่มิใชเพื่อการเกษตรของรัฐบาลคณะที่ 48
               ปรับปรุงการบริหารการใชน้ํา แตไมมีนโยบายการใหองคกรภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร
               รวมทั้งการจัดตั้งองคกรระดับชาติ นอกจากนี้มีความตอเนื่องกับนโยบายของรัฐบาลคณะที่ผานมา ในเรื่อง
               การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร อุปโภคบริโภค การแกไขปญหาภัยแลง การพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติและ

               การชลประทาน นโยบายน้ําที่สอดคลองกันระหวางรัฐบาลคณะที่ 48 คณะที่ 49 และคณะที่ 50 คือการนํา
               แหลงน้ํานานาชาติเขามาใชในประเทศไทย

                                     (7.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ยังคงมีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก
               อยางตอเนื่องนอกจากนี้มีการจัดทําโครงการแหลงน้ําในไร-นา ปรับปรุงและขยายกิจการประปาเทศบาลเพื่อ
               จัดหาน้ําอุปโภคบริโภค ไดมีการอนุรักษแหลงน้ําดิบเพื่อการประปาฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา มีการ

               ขยายเขตควบคุมวิกฤติการณน้ําบาดาลและแผนดินทรุดเพิ่มในจังหวัดนครปฐมและสมุทรสาคร รวมทั้งการ
               ปรับราคาน้ําบาดาลใหใกลเคียงกับน้ําประปา แตมีการขุดเจาะบอบาดาลระดับน้ําตื้น (บอตอก) เพื่อ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38