Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-29




                                     (9.1) สาระสําคัญของของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9

                                     การพัฒนาทรัพยากรน้ําในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ไดเนนใหความสําคัญกับการปรับ
               กลไกและกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศใหมีประสิทธิภาพ โดยเนน
               ระบบการบริหารงานที่โปรงใสและการมีสวนรวมของทองถิ่นและชุมชน มีการสนับสนุนการใชทรัพยากรน้ํา
               อยางมีประสิทธิภาพใหมีการใชประโยชนอยางยั่งยืนและเปนธรรม โดย (1)  บริหารจัดการแหลงน้ําที่มีอยู
               ใหมีการนํามาใชประโยชนดานเกษตรกรรม การผลิต การบริโภค อยางเต็มประสิทธิภาพ รวมทั้งปรับระบบ

               การผลิตทางการเกษตรไปสูพืชที่ใชน้ํานอย ควบคูกับการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา (2)  จัดหาแหลงน้ํา
               อเนกประสงคโดยผานกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนตั้งแตขั้นตอนการจัดทําโครงการ และให
               ประชาชนผูไดรับประโยชนมีสวนรวมกับภาระการลงทุน (3)  ศึกษาและกําหนดแนวทางการจัดการคุณภาพน้ําใต

               ดินและการใชประโยชนน้ําใตดินใหสอดคลองกับศักยภาพ รวมทั้งสํารวจและติดตามสถานการณแผนดินทรุด
               เพื่อประกาศเขตควบคุมการใชน้ําบาดาลและแกปญหาการลดลงของน้ําใตดิน (4) ใหมีการเก็บคาบริการใชน้ําดิบ
               โดยเริ่มจากการใชน้ําเพื่ออุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการประปา ควบคูกับการรณรงคและสรางแรงจูงใจ
               ใหประชาชนมีจิตสํานึกในการรักษาคุณภาพแหลงน้ําและใชน้ําอยางคุมคา  (5)  พัฒนาระบบการพยากรณ

               ทรัพยากรน้ํา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหาน้ําขาดแคลน การ
               ปองกันน้ําทวม และจัดหาน้ํา (6)  จัดทําแผนหลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการในระดับลุมน้ํา
               โดยใหความสําคัญกับการจัดการคุณภาพน้ําและการจัดการพื้นที่ลุมน้ําวิกฤตพรอมกับเนนการมีสวนรวมของ
               ชุมชนและประชาชนในการดําเนินการ


                                     (9.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา
                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มีรัฐบาลเพียงคณะเดียวคือ รัฐบาลคณะที่ 55 ซึ่งมี
               พ.ต.ท ทักษิณ  ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี (1 ต.ค. 2544 – 19 ก.ย. 2549) 1)

                                     “สนับสนุนใหชุมชนจัดทําฝายน้ําลนและฝายชะลอความชุมชื้นหรือฝายแมวตาม
               แนวพระราชดําริ การเขาถึงและใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม
               รัฐบาลจะลงทุนเพื่อการพัฒนาแหลงน้ําอยางเปนระบบตามลักษณะกายภาพของลุมน้ําตั้งแตการพัฒนาแหลง
               ตนน้ํา กลางน้ํา และการกระจายการใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและทั่วถึง

                                     ดานมลภาวะ รัฐบาลจะเรงรัดการควบคุมมลพิษจากกาซ ขยะ น้ําเสีย กลิ่นและ
               เสียงที่เกิดจากการผลิตและบริโภค โดยเรงรัดการสรางระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากสังคมเมืองและการ
               ผลิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม”
                                     นโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

               และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ํา การใชน้ํามีประสิทธิภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม
               อยางไรก็ตามนโยบายดังกลาวนี้ไมครอบคลุมในเรื่องของการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชน




               -------------------------------------------
               1)  พ.ต.ท ทักษิณ ชินวัตร ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ตั้งแตวันที่ 9 กุมภาพันธ 2544 ถึง
               วันที่ 30 กันยายน 2544 ซึ่งเปนรัฐบาลคณะที่ 54  ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2544 – 19
               กันยายน 2549 ซึ่งเปนรัฐบาลคณะที่ 55 นโยบายนี้แถลงตอรัฐสภา เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2548
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43