Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-34




                                     (10.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง

                                     “ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 มีรัฐบาลเขามาบริหาร
               ประเทศรวม 5 คณะ นโยบายจากแผนพัฒนาฯ นโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภา และนโยบายจาก
               คณะรัฐมนตรีและการดําเนินการมีความสอดคลองในเรื่องการบริหารจัดการน้ํา การพัฒนาแหลงน้ํา
               การขยายพื้นที่ชลประทาน การบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง การจัดการน้ําเสีย การผันน้ําเพิ่มปริมาณน้ํา
               ตนทุน นโยบายที่แตกตางของคณะรัฐบาลคือ การชลประทานระบบทอของรัฐบาลคณะที่ 57 ที่ไมมีผลในทาง

               ปฏิบัติจากคณะรัฐมนตรีและไมมีนโยบายจากรัฐบาลคณะอื่น รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพขององคกรปกครอง
               ทองถิ่นในการบําบัดน้ําเสียของรัฐบาลคณะที่ 59 ก็ไมมีปรากฏในนโยบายของรัฐบาลคณะอื่นๆ ทั้งๆ ที่การ
               ควบคุมและบรรเทาน้ําเสียไดกําหนดไวเปนนโยบายในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้”


                              (11) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11
               (พ.ศ. 2554 – 2559 )
                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2554 -2559) อยูในชวงการ

               บริหารของรัฐบาล 2 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 60  มี น.ส. ยิ่งลักษณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาล
               คณะที่ 61 มี พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เปนนายกรัฐมนตรี
                             แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ไดรายงานถึงปญหาน้ําไววา “ปญหา
               การขาดแคลนน้ําและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งอุทกภัยและปญหาภัยแลงมีแนวโนมจะเกิดขึ้นบอยครั้งและทวี
               ความรุนแรงขึ้น โดยความสามารถเก็บกักน้ําเพื่อนํามาใชงานไดในฤดูแลง มีเพียง 74,000 ลานลูกบาศกเมตร

               สามารถใชไดจริงเพียงปละประมาณ 55,000 ลานลูกบาศกเมตร สนองความตองการใชน้ําไดเฉพาะในพื้นที่
               ชลประทานเทานั้น ขณะที่ความตองการใชน้ําจะเพิ่มขึ้นจาก 57,452 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในป 2551 เปน
               65,452 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในป 2559 โดยภาคกลางมีความตองการใชน้ํามากที่สุด รองลงมาคือ ภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต ตามลําดับ ดังนั้น โอกาสมีความรุนแรงของปญหาการขาดแคลน
               น้ํา และความขัดแยงจากการแยงชิงน้ําระหวางลุมน้ําและระหวางภาคการผลิตจะเพิ่มสูงขึ้นในทุกสาขาการ
               ผลิต ทั้งนี้ หมูบานที่มีความเสี่ยงตอการเกิดภัยแลงในระดับปานกลางถึงระดับรุนแรงมีประมาณรอยละ 34.0
               ของจํานวนหมูบานทั้งประเทศ โดยลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความเสี่ยงมากที่สุด ในขณะที่มี

               หมูบานเสี่ยงตออุทกภัย น้ําหลากและดินถลมมี 2,370 หมูบาน โดยหมูบานที่เสี่ยงภัยสูงมี 398 หมูบาน
               ทั้งนี้ ภาคเหนือมีความเสี่ยงมากที่สุด สาเหตุสําคัญเกิดจากการที่พื้นที่ปาตนน้ําถูกบุกรุกทําลาย”  (สํานักงาน
               คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2554: 100)
                                     (11.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11

                                     การพัฒนาทรัพยากรน้ําในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ไดมีแนวทางการพัฒนาโดยเนน 4
               แนวทาง คือ (1)  เรงรัดการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ เพื่อสนับสนุนความมั่นคงดานอาหารและ
               พลังงาน และลดปญหาอุทกภัยและภัยแลงไดอยางยั่งยืน (2)  พัฒนาปรับปรุงและฟนฟูแหลงน้ํา เพื่อเพิ่ม
               ปริมาณน้ําตนทุนในแหลงน้ําที่มีศักยภาพในการเก็บกักน้ํา (3)  พัฒนาและสงเสริมใหเกิดการใชน้ําอยางมี

               ประสิทธิภาพคุมคาและไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (4) จัดทําแผนแมบทโครงสรางพื้นฐานดานทรัพยากร
               น้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคอยางเปนระบบ
                                     แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 มีความตอเนื่องกับแผนพัฒนาฯ
               ฉบับที่ 10 ในเรื่อง พัฒนาแหลงน้ํา ลดปญหาอุทกภัยและภัยแลง เพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา นโยบายที่

               เพิ่มเติมคือ การจัดทําแผนแมบทโครงสรางพื้นฐานดานทรัพยากรน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภคอยางเปนระบบ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48