Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตัวอย่าง ก. ยืมควาย ข. ระหว่างการลงแขกทํานา ควายของ ข. ติดเชื้อจากควาย ค. ตาย – ค.
จึงนําควายที่ใช้ทํานาอีกตัวหนึ่งมาให้ ก. แทน
— คําถาม การชําระหนี้เป็นพ้นวิสัยหรือยัง ข. มีสิทธิเรียกร้องอะไรได้บ้าง และหาก ก. ไม่รักษา
ทรัพย์อย่างระมัดระวัง โดยเอาควาย ข. ไปอยู่รวมกับควาย ค. ทําให้ติดเชื้อ การชําระหนี้เป็นพ้นวิสัย
หรือยัง ตามมาตราอะไร และ ข. มีสิทธิเรียกร้องอะไรได้บ้าง
— คําตอบ........................................................................................
— คําถาม กรณีจะเป็นอย่างไร หาก ค. ใช้เงินมา 1,000 บาท แทน (มูลค่าควายหนึ่งตัวราคา
10,000 บาท)
— คําตอบ........................................................................................
— (2) ช่วงทรัพย์ของ เจ้าหนี้บุริมสิทธิ
— มาตรา 231 วรรคหนึ่ง “ถ้าเอาทรัพย์สินจ านอง จ าน าหรืออยู่ในบังคับบุริมสิทธิประการอื่น
— นั้นเป็นทรัพย์อันได้เอาประกันภัยไว้ไซร้ ท่านว่าสิทธิจ านอง จ าน าหรือบุริมสิทธิอย่างอื่นนั้น
ย่อมครอบไปถึงสิทธิที่จะเรียกร้องเอาแก่ผู้รับประกันภัยด้วย”
— ข. เอาบ้านจํานองไว้กับ ก. เป็นประกันเงินกู้ที่กู้ ก. มา
— มูลหนี้ที่ 1 (จํานอง จํานํา บุริมสิทธิ)
— ก (จน.) ข (ลน.)
— บ้านไฟไหม้ ข ทําประกัน
ก มีสิทธิเรียกร้อง อัคคีภัยบ้านไว้กับ ค.
— ตามมาตรา 231 มูลหนี้ที่ 2
— (มูลหนี้ตามสัญญาประกันภัย)
— ค (ผู้รับประกันภัย)
— (1) กรณีอสังหาริมทรัพย์
— มาตรา 231 วรรคสอง “ในกรณีที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ถ้าผู้รับประกันภัยได้รู้หรือควรจะได้รู้ว่ามี
จ านองหรือบุริมสิทธิอย่างอื่น ท่านยังมิให้ผู้รับประกันภัยใช้เงินให้แก่ผู้เอาประกันภัย จนกว่าจะได้บอก
กล่าวเจตนาเช่นนั้นไปยังผู้รับจ านองหรือเจ้าหนี้มีบุริมสิทธิคนอื่นแล้ว และมิได้รับค าคัดค้านการที่จะใช้
เงินมาภายในเดือนหนึ่งนับแต่วันบอกกล่าว แต่สิทธิอย่างใดๆ ที่ได้ไปจดทะเบียน ณ หอทะเบียนที่ดินนั้น
ท่านให้ถือว่าเป็นอันรู้ถึงผู้รับประกันภัย วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงการจ านองสังหาริมทรัพย์ที่
กฎหมายอนุญาตให้ท าได้นั้นด้วย”
50