Page 119 -
P. 119

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                  โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                             ๒๕๕๗
                    ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                                     ยกสูงขึ้น รวมทั้งการกระท าของแม่น้ าหลาย สายซึ่งมีทั้งการกัดเซาะ สึกกร่อนและ
                                     ทับถม พอกพูน จึงท าให้บริเวณนี้กลายเป็นที่ราบอันกว้างใหญ่และเป็นแหล่ง

                                     เกษตรกรรมส าคัญของประเทศ

                                 (3)  เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก ลักษณะของภูมิประเทศส่วนใหญ่จะเป็นทิวเขา หุบเขา
                                     แต่ไม่มีที่ราบระหว่างภูเขาเหมือนทางภาคเหนือและที่ราบไม่กว้างขวางเหมือนภาค

                                     กลาง ภูมิประเทศของเขตนี้ประกอบด้วย ทิวเขาที่ยาวต่อเนื่องมาจากทิวเขาทาง
                                     ภาคเหนือลงไปจน ถึงทิวเขาในคาบสมุทรภาคใต้ เป็นทิวเขาสลับหุบเขาแคบ ๆ

                                     มีล าน้ าไหลขนานตามแนวของทิวเขาจาก บริเวณตะวันตกเฉียงเหนือมายังตะวันออก
                                     เฉียงใต้

                                 (4)  เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก ลักษณะภูมิประเทศจะเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ า

                                     ทางตอนเหนือ เป็นทิวเขาและที่ราบลูกฟูกทางตอนกลางและมีที่ราบชายฝั่งทะเลทาง
                                     ใต้ โดยมีแม่น้ าสายสั้น ๆ ไหลจากทิศเหนือไปทางใต้ลงสู่อ่าวไทย ชายฝั่งทะเลของ

                                     เขตนี้ เป็นชายฝั่งที่มีลักษณะเว้าแหว่งและเต็มไปด้วยเกาะใหญ่น้อย เป็นเกาะที่
                                     ปกคลุมด้วย ป่าไม้และหาดทรายสวยงาม

                                 (5)  เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิประเทศทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี

                                     ลักษณะแยก จากภาคเหนือและภาคกลางอย่างเด่นชัด ทั้งนี้เพราะการยกตัวของ
                                     แผ่นดิน ด้านตะวันตก และด้านใต้ ท าให้เกิดขอบสูงชันตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณ์

                                     ด้านตะวันตก ส่วนทางด้านใต้ก็เป็นขอบสูงชันตามแนวทิวเขาสันก าแพง และพนมดง
                                     รัก บริเวณตอนกลางของเขตนี้มีลักษณะเป็นแอ่งคล้าย ๆ ก้นกะทะ เรียกว่า แอ่ง

                                     โคราช มีแม่น้ าชีและแม่น้ ามูลไหลผ่าน ยังมีที่ราบโล่งอยู่หลายแห่ง โค้งยาวค่อนไป
                                     ทางตะวันออกเฉียงเหนือของภาค ถัดเลยจากแนวทิวเขาภูพานไปทางเหนือมีแอ่ง

                                     ทรุดต่ าของแผ่นดินเรียกว่า แอ่งสกลนคร ส่งผลให้พื้นที่หลายแห่งได้กลายเป็น
                                     หนองน้ า พื้นที่ราบสูงจะยกตัวสูงทางบริเวณตะวันตกและทางใต้ และลาดเอียงไป
                                     ทาง ตะวันออกเฉียงใต้ลงสู่แม่น้ าโขง แม่น้ าส าคัญที่ไหลผ่านเขตที่ราบสูง

                                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ แม่น้ าชี แม่น้ ามูลและสาขาใหญ่น้อย ซึ่งไหลจาก
                                     บริเวณตะวันตกลงสู่ล าน้ าโขงทางตะวันออก

                                 (6)  เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งคาบสมุทรภาคใต้  ภูมิประเทศเขตนี้มีลักษณะเป็น

                                     คาบสมุทรแคบและยาว ถูกขนาบด้วยทะเลทั้งสองด้าน คือ อ่าวไทยทางด้าน

                                     ตะวันออกและทะเลอันดามันทางด้านตะวันตก ประกอบด้วยทิวเขาที่เป็นแกนของ
                                     คาบสมุทรและที่ราบชายฝั่งทะเลที่ลาดลงสู่ทะเลทั้งสองด้าน โดยที่ราบด้านชายฝั่ง
                                     ตะวันออกกว้างขวางกว่าทางฝั่งตะวันตก ชายฝั่งด้านตะวันออกเป็นชายฝั่งที่

                                     ราบเรียบและยกตัวสูง มีหาดทรายสวยงามหลายแห่ง ส่วนชายฝั่งทะเลด้านตะวันตก





                                                         5-27
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124