Page 28 -
P. 28
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ซึ่งท�าได้หลังจากที่มีการพัฒนาการเพาะฟักและการผลิตอาหารส�าเร็จรูปโดยรัฐและเอกชนร่วมกัน
ด�าเนินการ ความส�าเร็จในส่วนนี้ท�าให้มาเลเซียลดการเพาะเลี้ยงแบบธรรมชาติและหันมาใช้
การเลี้ยงแบบพัฒนา สามารถเพิ่มผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงได้ ส่งผลให้การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าใน
มาเลเซียพัฒนามาเป็นอาชีพที่ท�ารายได้ดี ข้อจ�ากัดที่ยังมีอยู่ คือ มีพื้นที่จ�ากัด ต้นทุนการผลิต
ที่สูงขึ้นและการขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะในการเพาะเลี้ยง
ผลผลิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของมาเลเซียยังเป็นรองประเทศไทยอยู่มาก ผลผลิตที่ได้
เกือบครึ่งหนึ่งเป็นสาหร่าย มีปริมาณ 0.240 ล้านตัน หรือร้อยละ 45.48 ของผลผลิตจากการ
เพาะเลี้ยงในปี 2554 สัตว์น�้าหลักที่เพาะเลี้ยง ได้แก่ กุ้งขาวในน�้ากร่อย ผลผลิต 0.059 ล้านตัน
(ร้อยละ 11.27) ตามมาด้วยหอยแครงที่เลี้ยงในทะเล ผลผลิต 0.058 ล้านตัน (ร้อยละ 10.93)
จากนั้นเป็นปลาดุกที่เลี้ยงในน�้าจืด 0.047 ล้านตัน (ร้อยละ 8.88) มาเลเซียส่งปลาดุกเข้ามา
จ�าหน่ายในประเทศไทยโดยผ่านมาทางชายแดนภาคใต้ ในช่วงที่มีปลาดุกจากมาเลเซียเข้ามา
แข่งขัน ส่งผลให้ราคาปลาในประเทศไทยลดลง ตามมาด้วยปลานิลที่เลี้ยงในน�้าจืดเป็นส�าคัญ
และมีที่เลี้ยงในน�้ากร่อยเล็กน้อย ปริมาณรวม 0.043 ล้านตัน (ร้อยละ 8.18) ปลากะพงขาวที่เลี้ยง
ในน�้ากร่อย 0.018 ล้านตัน (ร้อยละ 3.34) ปลาสวายในน�้าจืดมีผลผลิต 0.011 ล้านตัน (ร้อยละ
2.07) ปลากะพงและปลากะรังที่เลี้ยงในน�้ากร่อยมีผลผลิต 0.009 ล้านตัน (ร้อยละ 1.61) และ
0.006 ล้านตัน (ร้อยละ 1.20) ตามล�าดับที่มีผลผลิตไม่ถึงร้อยละหนึ่ง เช่น ปลาหัวโตและปลาแขยง
ที่เลี้ยงในน�้าจืด หอยแมลงภู่ที่เลี้ยงในทะเล ปลาเฉาและปลาตะเพียนในน�้าจืด หอยนางรมที่เลี้ยง
ในทะเล และกุ้งก้ามกรามในน�้าจืด มาเลเซียพยายามเพิ่มผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงแต่ยังท�าไม่
ได้มากนัก มีข้อจ�ากัดที่แรงงาน มาเลเซียมีความสนใจให้มีผู้เข้าไปลงทุนด้านการเพาะเลี้ยง
สัตว์น�้าในประเทศ (ตารางที่ 2.7)
ตารางที่ 2.7 ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศมาเลเซีย ปี 2554
ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)
มาเลเซีย ปริมาณรวม 526.526 พันตัน
น�้าจืด น�้ากร่อย ทะเล
(2 ; 122.2 พันตัน; 23.21%) (3 ; 104.1 พันตัน; 19.77%) (1 ; 300.2 พันตัน; 57.02%)
nd
rd
st
st
nd
ปลาดุก (4 ; 46.8; 8.88%) กุ้งขาว (2 ; 59.4; 11.27%) สาหร่าย (1 ; 239.5; 45.48%)
th
th
ปลานิล (5 ; 42.8; 8.13%) ปลากะพงขาว (6 ; 17.6; 3.34%) หอยแครง (3 ; 57.5; 10.93%)
rd
th
th
th
th
ปลาสวาย (7 ; 10.9; 2.07%) ปลากะพง (8 8.5; 1.61%) หอยแมลงภู่ (11 ; 2.6; 0.50%)
ปลาหัวโต (49 ; 3.9; 0.75%)
th
ปลาแขยง (10 ; 2.9; 0.55%)
th
ปลาเฉา (12 ; 1.9; 0.36%)
th
ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
th
ปลาตะเพียน (13 ; 1.6; 0.30%) ปลากะรัง (14 ; 6.3; 1.20%) หอยนางรม (15 ; 0.6; 0.12%)
th
th
กุ้งก้ามกราม (16 ; 0.3; 0.06%) ปลานิล (17 ; 0.3; 0.05%)
th
th
ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน >> I 19 I