Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




              ตารางที่ 2.5  ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศไทย ปี 2554

                      ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)

                                     ไทย ปริมาณรวม 1,008.049 พันตัน

                น�้าจืด (2 ; 338.8, 33.61%)  น�้ากร่อย (1 ; 533.8; 52.95%)  ทะเล (3 ; 135.5, 13.44%)
                                                                      rd
                                               st
                      nd
                ปลานิล (2 ; 139.4; 13.83%)   กุ้งขาว (1 ; 511.4; 50.74%)   หอยแมลงภู่ (4 ; 84.7; 8.40%)
                                                                          th
                                              st
                       nd
                       rd
                                                  th
                                                                        th
                ปลาดุก (3 ; 95.4; 9.46%)   ปลากะพงขาว (8 ; 16.3; 1.62%)   หอยแครง (5 ; 40.5; 4.02%)
                                                                          th
                          th
                ปลาตะเพียน (6 ; 34.1; 3.38%)   ปลากะรัง (12 ; 3.2; 0.32%)   หอยนางรม (11 ; 10.3; 1.02%)
                                                 th
                กุ้งก้ามกราม (7 ; 19.3; 1.92%)
                          th
                ปลาสลิด (9 ; 15.9; 1.58%)
                        th
                ปลาสวาย (11 ; 15.3; 1.51%)
                         th
              ที่มา:  ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
              2.6  การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของสหภาพพม่า
                   สหภาพพม่ามีแม่น�้าและล�าน�้าสาขาจากพื้นที่ตอนเหนือ ซึ่งมีอากาศเย็นและเป็นพื้นที่ภูเขา
              จรดพื้นที่ตอนใต้ซึ่งอากาศอบอุ่น ทั้งยังมีพื้นที่ชายฝั่งทะเลในตอนใต้ที่มีพื้นที่เพาะเลี้ยงทั้งในน�้าจืด
              และในน�้ากร่อย โดยเฉพาะบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้าอิระวดี การเลี้ยงปลาในสหภาพ
              พม่านอกจากปลานิลที่เลี้ยงกันมาก โดยเลี้ยงในกระชังแบบพัฒนาแถบแม่น�้าอิระวดี ส่วนมากยัง
              เลี้ยงหลายชนิดร่วมกัน (Poly-culture) ยังใช้ร�าข้าวและมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลสัตว์ แต่มีการ
              ส่งเสริมให้ใช้อาหารส�าเร็จรูปมากขึ้นเพื่อรักษาคุณภาพน�้า ในส่วนของการเลี้ยงกุ้งยังต้องน�าเข้า
              อาหารกุ้งจากประเทศใกล้เคียงรวมทั้งจากประเทศไทย รัฐบาลสหภาพพม่าสนับสนุนให้มีการตั้ง
              โรงงานอาหารสัตว์เพื่อใช้ในประเทศซึ่งได้รับความร่วมมือด้านเทคโนโลยีจากหลายประเทศ
              เช่น ไต้หวัน จีน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และประเทศไทย ปลาพื้นเมืองที่เป็นที่นิยมมากที่สุดใน
              สหภาพพม่า คือ ปลายี่สกเทศ แต่ก็มีการเลี้ยงปลานิลแบบพัฒนาเพิ่มขึ้นในระยะหลัง ปลานิล
              เป็นที่นิยมของผู้บริโภคในประเทศมากขึ้น เช่นเดียวกับปลาสวายที่น�าพันธุ์ไปจากประเทศไทย
              ที่มักจะเลี้ยงในกระชัง ส�าหรับปลาไนเลี้ยงกันในที่สูงอากาศเย็นเป็นการเลี้ยงในชนบท ปลาไนเป็น
              ปลาที่เลี้ยงง่าย ใช้เป็นอาหารในครัวเรือนได้เร็ว ส่วนสัตว์น�้าที่ขายได้ราคาดี ได้แก่ ปลาสวาย ปลา
              ยี่สกเทศ กุ้งกุลาด�า และกุ้งก้ามกราม ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของสหภาพพม่าเพิ่มขึ้น
              รวดเร็วในระยะสิบกว่าปีที่ผ่านมา เนื่องจากการที่รัฐสนับสนุนทั้งงานวิจัยและฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม
              อาหารโปรตีนที่มีต้นทุนต�่าส�าหรับการบริโภคในประเทศและการเลี้ยงกุ้งเพื่อส่งออก

                   สหภาพพม่ามีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงเป็นรองประเทศไทย ในปี 2554 มีผลผลิต 0.817
              ล้านตัน ต�่ากว่าผลผลิตของประเทศไทยเกือบสองแสนตัน แต่อัตราเพิ่มของผลผลิตจากการเพาะเลี้ยง
              ของสหภาพพม่าสูงถึงร้อยละ 23.80 ต่อปี สูงเป็นกว่าสองเท่าของอัตราเพิ่มของประเทศไทย
              ทั้งสหภาพพม่ายังมีพื้นที่ที่สามารถพัฒนามาใช้เพาะเลี้ยงอีกมากมีโอกาสที่จะเป็นคู่แข่งที่ส�าคัญ
              ของไทยในอนาคต




                          สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน >> I 17 I
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31