Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




            ล้านตัน หรือ ร้อยละ 16.05 การเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาด�าในน�้ากร่อย ผลผลิต 0.300 ล้านตัน หรือ
            ร้อยละ 9.83 กุ้งขาวในน�้ากร่อย ผลผลิต 0.187 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 6.13 การเพาะเลี้ยงหอยใน
            ทะเลส่วนใหญ่เป็นหอยตลับและหอยแครง ผลผลิต 0.180 ล้านตัน หรือร้อยละ 5.90 ปลาไน
            ในน�้าจืด ผลผลิต 0.150 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 4.91 ปลานิลในน�้าจืด ผลผลิต 0.065 ล้านตัน หรือ

            ร้อยละ 2.13 สัตว์น�้าอื่นๆ มีส่วนแบ่งผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงไม่ถึงร้อยละหนึ่ง เช่น กบในน�้าจืด
                                                                      5
            ปลาดุกในน�้าจืด ปูทะเลในน�้ากร่อยและกุ้งก้ามกรามในน�้าจืด (ตารางที่ 2.3)

            ตารางที่ 2.3  ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศเวียดนาม ปี 2554

                     ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)

                          เวียดนาม ปริมาณผลผลิตจากการเพาะเลี้ยง 3,052.500 พันตัน

              น�้าจืด (1 ; 2,074.5 ; 67.96%)  น�้ากร่อย (2 ; 583.7; 19.12%)  ทะเล (3 ; 394.2; 12.92%)
                                                                    rd
                    st
                                             nd
                                               rd
              ปลาสวาย                  กุ้งกุลาด�า (3 ; 300.0; 9.83%)   สาหร่าย (4 ; 206.9; 6.78%)
                                                                      th
              (1 ; 1,151.0; 37.71%)
                st
              ปลาตะเพียน               กุ้งขาว (5 ; 187.0; 6.13%)   หอยทะเล (6 ; 180.0; 5.90%)
                                                                       th
                                             th
              (2 ; 490.0; 16.05%)
                nd
              ปลาไน (7 ; 150.0; 4.91%)   ปูทะเล (11 ; 12.5; 0.41)   ปลาช่อนทะเล (12 ; 2.0; 0.07%)
                     th
                                                                          th
                                              th
              ปลานิล (8 ; 65.0; 2.13%)
                     th
                  th
              กบ (9 ; 30.0; 0.98%)
              ปลาดุก (10 ; 20.0; 0.66%)
                      th
              ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆ ที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
              กุ้งก้ามกราม (13 ; 8.5; 0.28%)
                         th
            ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
            2.4  การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของประเทศฟิลิปปินส์
                  การเพาะเลี้ยงในฟิลิปปินส์มีอัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตสูงกว่าที่ได้จากการท�าประมงใน
            แหล่งน�้าธรรมชาติ แต่อย่างไรก็ตามผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงของฟิลิปปินส์ ซึ่งเคยสูงกว่าร้อยละห้า
            ของผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงโดยรวมของทุกประเทศในโลกลดลงมาอยู่ในระดับต�่ากว่าร้อยละหนึ่ง
            ในปัจจุบัน ซึ่งอาจเป็นเพราะการขยายตัวในช่วงก่อนปี 2530 จนใกล้เต็มศักยภาพของพื้นที่การ
            พัฒนาการเพาะเลี้ยงในระยะหลังจึงได้ชะลอตัวลง

                  สัตว์น�้าที่เลี้ยงกันมากในฟิลิปปินส์ คือ ปลานวลจันทร์ทะเล ซึ่งเป็นที่นิยมบริโภคของคนใน
            ประเทศและเลี้ยงกันมาแต่ดั้งเดิม พัฒนาจนเลี้ยงได้ทั้งในน�้ากร่อย ทะเลและน�้าจืด ฟิลิปปินส์
            พัฒนาการเลี้ยงกุ้งมาตั้งแต่ก่อนปี 2520 โดยเริ่มจากผู้ประกอบการธุรกิจไร่อ้อยที่เปลี่ยนแปลง


               5    ร้อยละหนึ่งของผลผลิตรวม 3.052 ล้านตัน คือไม่มากกว่า สามหมื่นตัน




            12    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26