Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




            ท�าอวนลากตั้งแต่ปี 2523 อินโดนีเซียพัฒนาวิธีเลี้ยงโดยน�านวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามาแนะน�าส่งเสริม
            ขยายพื้นที่เพาะเลี้ยง และจัดหาพันธุ์สัตว์น�้าที่มีคุณภาพให้แก่เกษตรกร

                  ในปี 2554 กว่าครึ่งคือ ร้อยละ 65.14 ของผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงในอินโดนีเซียมาจาก
            การเพาะเลี้ยงสาหร่ายซึ่งส่วนใหญ่เลี้ยงในทะเลและยังมีที่เลี้ยงในน�้ากร่อยมีปริมาณผลผลิต
            รวม 5.710 ล้านตัน เฉพาะผลผลิตสัตว์น�้าจากการเพาะเลี้ยงส่วนใหญ่มาจากการเพาะเลี้ยงปลานิล
            ในน�้าจืดมีปริมาณ 0.546 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 6.88 ของผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงในอินโดนีเซีย 3
            ตามมาด้วยผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลในน�้ากร่อย 0.467 ล้านตัน หรือ ร้อยละ
            5.88 ถัดไปเป็นการเพาะเลี้ยงปลาดุกในน�้าจืดมีผลผลิต 0.338 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 4.25 สัตว์น�้า
            ที่มีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงมากเป็นอันดับที่สี่ คือ การเพาะเลี้ยงกุ้งขาวในน�้ากร่อยมีผลผลิต
            0.246 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 3.10 อันดับที่ห้า คือ การเพาะเลี้ยงปลาสวายในน�้าจืดมีผลผลิต
            0.229 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 2.89 การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าอื่นๆ มีปริมาณผลผลิตไม่ถึงร้อยละ
                                             4
            หนึ่งของผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงโดยรวม เช่น การเพาะเลี้ยงปลาแรดในน�้าจืด ปลานิลใน
            น�้ากร่อย หอยนางรมในทะเล ปลาสร้อยนกเขาในน�้าจืด ปลาตะเพียนขาวในน�้าจืด ปลากะรังในทะเล
            ปลากะพงขาวในน�้ากร่อยและในทะเล ปลากะรังในน�้ากร่อย ปลาสลิดในน�้าจืด และกุ้งก้ามกราม
            ในน�้าจืด (ตารางที่ 2.2)


            ตารางที่ 2.2  ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศอินโดนีเซีย ปี 2554
                     ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)

                                 อินโดนีเซีย ปริมาณรวม 7,937.072 พันตัน

              น�้าจืด (2 ; 1,720.4; 21.68%)  น�้ากร่อย (3 ; 1,602.8; 20.19%)  ทะเล (1 ; 4,613.9; 58.13%)
                                                                    st
                                             rd
                    nd
              ปลานิล (3 ; 546.2; 6.88%)   สาหร่าย (2 ; 630.8; 7.95%)   สาหร่าย (1 ; 4,539.5; 57.19%)
                                                                     st
                     rd
                                             nd
                     th
                                                                       th
              ปลาดุก (5 ; 337.6; 4.25%)   ปลานวลจันทร์ทะเล   หอยนางรม (9 ; 48.4; 0.61%)
                                      (4 ; 467.0; 5.88%)
                                       th
              ปลาไน (6 ; 332.2; 4.19%)   กุ้งขาว (7 ; 246.4; 3.10%)   ปลากะรัง (14 ; 8.1; 0.10%)
                     th
                                            th
                                                                      th
              ปลาสวาย (8 ; 229.3; 2.89%)
                       th
              ปลาแรด (10 ; 64.2; 0.81%)
                       th
              ปลาสร้อยนกเขา
              (12 ; 22.6; 0.28%)
                 th
               ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆ ที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
              ปลาตะเพียนขาว           ปลานิล (11 ; 55.1; 0.69%)   ปลากะพงขาว (18 ; 2.1; 0.03%)
                                             th
                                                                         th
              (13 ; 12.0; 0.15%)
                 th
                                                 th
              ปลาสลิด (16 ; 2.7; 0.03%)   ปลากะพงขาว (15 ; 3.1; 0.04%)
                       th
              กุ้งก้ามกราม (19 ; 0.6; 0.01%)   ปลากะรัง (17 ; 2.5; 0.03%)
                         th
                                               th
            ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
              3   มีการเลี้ยงปลานิลในน�้ากร่อยอีกเล็กน้อย ผลผลิต 0.055 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 0.69
              4   ร้อยละหนึ่งของผลผลิตรวม 7.937 ล้านตัน คือมีผลผลิตชนิดละไม่ถึงแปดหมื่นตัน
            10    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24