Page 23 -
P. 23
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 2.4 ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศฟิลิปปินส์ ปี 2554
ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)
ฟิลิปปินส์ ปริมาณรวม 2,608.120 พันตัน
nd
rd
st
น�้าจืด (3 ; 306.9; 11.77%) น�้ากร่อย (2 ; 311.1; 11.93%) ทะเล (1 ; 1.990.1; 76.30%)
ปลานิล (2 ; 243.1; 9.32%) ปลานวลจันทร์ทะเล สาหร่าย (1 ; 1,840.8; 70.58%)
nd
st
(3 ; 226.4; 8.68%)
rd
th
ปลานวลจันทร์ทะเล กุ้งกุลาด�า (5 ; 47.5; 1.82%) ปลานวลจันทร์ทะเล
(6 ; 42.3; 1.62%) (4 ; 104.0; 3.99%)
th
th
th
th
ปลาตะเพียน (8 ; 17.3; 0.66%) ปูทะเล (9 ; 15.7; 0.60%) หอยแมลงภู่ (7 ; 22.4; 0.86%)
th
th
ปลาดุก (12 ; 3.1; 0.12%)
ปลาช่อน (14 ; 0.9; 0.03%)
th
ปลาแรด (15 ; 0.2; 0.01%)
th
ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆ ที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
กุ้งก้ามกราม ปลานิล (10 ; 14.3; 0.55%) หอยนางรม (8 ; 21.5; 0.82%)
th
th
(17 ; 0.01; 0.003%) กุ้งขาว (11 ; 4.2; 0.16%) ปลากะรัง/กะพงขาว
th
th
ปลากะรัง/กะพงขาว (13 ; 1.0; 0.04%)
th
th
(16 ; 0.03; 0.001%) ปลานิล (17 ; 0.002; 0.0001%)
th
ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
2.5 การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของประเทศไทย
การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในประเทศไทยที่มีบทบาทส�าคัญ คือ การเลี้ยงกุ้งซึ่งท�ารายได้เงินตรา
ต่างประเทศสูง การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าอื่นๆ นอกจากกุ้งมักจะเป็นการเพาะเลี้ยงขนาดเล็ก และ
ท�ากันในครัวเรือน การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าจืดมีบทบาทส�าคัญในการเป็นแหล่งอาหารโปรตีนส�าหรับ
ชนบท เกษตรกรมีพื้นที่เพาะเลี้ยงขนาดเล็ก เฉพาะปลานิลมีขนาดฟาร์มเพาะเลี้ยงขนาดใหญ่กว่า
สัตว์น�้าอื่นๆ เนื่องจากเป็นสัตว์น�้าที่มีโอกาสส่งออกและมีผู้ต้องการซื้ออยู่ทั่วไป เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง
ปลานิลบางรายสามารถพัฒนากลุ่มเกษตรกรเพาะเลี้ยงทั้งเพื่อขายในประเทศและส่งออก อย่างไร
ก็ตามประเทศไทยมีข้อจ�ากัดเรื่องพื้นที่เพาะเลี้ยง มีการแข่งขันการใช้พื้นที่กันกับกิจกรรมอื่นๆ ที่
สามารถท�ารายได้สูงกว่าการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า การเพาะเลี้ยงปลาน�้าจืดในกระชังก็มีข้อจ�ากัด
ในการวางกระชัง การเพาะเลี้ยงหอยทั้งหอยแครง หอยแมลงภู่ และหอยนางรม มีผลผลิตลดลง
เพราะปัญหาพื้นที่เลี้ยงหอยที่ให้ผลผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ
การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในประเทศไทยยังมีอัตราผลตอบแทนค่อนข้างต�่ายกเว้นการเพาะเลี้ยงกุ้งขาว
การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าอื่นๆ นอกจากกุ้งยังต้องการการพัฒนาวิธีเพาะเลี้ยงเพื่อเพิ่มผลผลิตและ
ลดต้นทุน อีกทั้งผลตอบแทนจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าอื่นๆ นอกจากกุ้งในประเทศไทยยังไม่สูง
14 >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน