Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                  ในปี 2554 ผลผลิตสัตว์น�้าจากการเพาะเลี้ยงในสหภาพพม่าส่วนใหญ่ยังเป็นปลายี่สกเทศ
            ที่เลี้ยงในน�้าจืดซึ่งเป็นที่นิยมบริโภคในประเทศ มีผลผลิต 0.531 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 64.96 ของ
            ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงในสหภาพพม่า อันดับที่สองเป็นกุ้งกุลาด�าที่เลี้ยงในทะเล ผลผลิต 0.051
            ล้านตัน หรือ ร้อยละ 6.27 อันดับที่สามเป็นปลากะโห้ที่เลี้ยงในน�้าจืด ผลผลิต 0.046 ล้านตัน หรือ
            ร้อยละ 5.57 ตามมาด้วยปลานิลที่เลี้ยงในน�้าจืดเป็นส�าคัญ มีที่เลี้ยงในน�้ากร่อยไม่มากนัก ปริมาณ
            ผลผลิตรวม 0.040 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 4.92 และผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงในน�้าจืดอีกสี่ชนิด
            คือ ปลานวลจันทร์น�้าจืด 0.030 ล้านตัน ร้อยละ 3.71 ปลาไน และปลาตะเพียนขาว อย่างละ
            0.023 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 2.78 และปลาสวาย 0.015 ล้านตัน หรือ ร้อยละ 1.86 นอกจากนั้นมี
            ผลผลิตไม่ถึงร้อยละหนึ่ง เช่น ปลาดุกและกุ้งก้ามกรามในน�้าจืด ปูทะเลที่เลี้ยงในทะเล ปลาสวาย
            และปลานิลที่เลี้ยงในน�้ากร่อย และ ปลากะพงขาวและปลากะรังที่เลี้ยงในทะเลอีกไม่มากนัก
            สหภาพพม่ายังให้ความส�าคัญแก่ผลผลิตเพื่อการเพาะเลี้ยงในประเทศ ตลาดหลักยังเป็นตลาด
            ในประเทศ แต่ก็มีศักยภาพที่จะพัฒนาการเลี้ยงกุ้ง ปลานิลและปลาสวาย (ตารางที่ 2.6)

            ตารางที่ 2.6  ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในสหภาพพม่า ปี 2554


                     ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)
                                 สหภาพพม่า ปริมาณรวม 817.112 พันตัน

                      น�้าจืด                น�้ากร่อย                ทะเล
              (1 ; 760.9 พันตัน ; 93.13%)  (3 ; 1.5 พันตัน; 0.19%)  (2 ; 54.6 พันตัน; 6.69%)
                                         rd
                                                                nd
                st
              ปลายี่สกเทศ              ปลาสวาย (1 ; 0.8; 0.09%)   กุ้งกุลาด�า (2 ; 51.2; 6.27%)
                                               th
                                                                      nd
              (1 ; 530.8; 64.96%)
                st
                       rd
                                                                     th
                                              th
              ปลากะโห้ (3 ; 45.5; 5.57%)   ปลานิล (13 ; 0.8; 0.09%)   ปูทะเล (11 ; 1.5; 0.18%)
              ปลานิล (4 ; 39.4; 4.83%)                        สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
                     th
                                                              (12 ; 1.4; 0.18%)
                                                                th
                              th
              ปลานวลจันทร์น�้าจืด (5 ; 30.3; 3.71%)
              ปลาไน (6 ; 22.7; 2.78%)
                     th
                         th
              ปลาตะเพียน (6 ; 22.7; 2.78%)
              ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆ ที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
              ปลาสวาย (8 ; 15.2; 1.86%)                   ปลากะรัง (15 ; 0.14; 0.02%)
                                                                   th
                       th
                                                                     th
                     th
              ปลาดุก (9 ; 7.6; 0.93%)                     ปลากะพงขาว (6 ; 0.08; 0.01%)
              กุ้งก้ามกราม (10 ; 4.2; 0.52%)
                         th
            ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
            2.7  การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของประเทศมาเลเซีย
                  การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในมาเลเซีย เริ่มจากการเลี้ยงปลาหัวโต ปลาลิ่น และปลาเฉา ในแบบ
            Poly-culture ตามบ่อในเหมืองเก่า เมื่อประมาณ 90 ปีที่แล้ว หลังจากนั้นมีการเลี้ยงกุ้งแบบ
            ธรรมชาติบริเวณรัฐ Johore มีการเลี้ยงหอยแครง การเลี้ยงปลานิลแบบธรรมชาติ การเลี้ยงแบบ
            พัฒนาเริ่มขึ้นประมาณ 20 ปีมาแล้ว โดยมีการปล่อยลูกพันธุ์อย่างหนาแน่น และอาหารเสริม

            18    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32