Page 17 -
P. 17
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
แนวโน้มโครงสร้างผลผลิตจากภาคประมงของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นเช่นเดียวกัน
กับของโลก สัดส่วนผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.03 ในปี 2523 เพิ่มขึ้นรวดเร็ว
นับแต่ปี 2541 เป็นร้อยละ 20.71 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 47.67 ในปี 2554 เป็นปีแรกที่อาเซียน
มีสัดส่วนผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสูงกว่าสัดส่วนรวมของโลกการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าใน
กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนทวีความส�าคัญขึ้นอย่างรวดเร็วเข้ามาทดแทนผลผลิตจากการ
ท�าประมงจากแหล่งน�้าธรรมชาติในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศที่ประสบความส�าเร็จ
ในการเพาะเลี้ยงสามารถมีสัดส่วนผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นในระดับสูงกว่ากลุ่มอาเซียน
โดยรวม ได้แก่ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ลาว และสิงคโปร์ประเทศที่มีสัดส่วนผลผลิตจาก
การเพาะเลี้ยงต�่ากว่าระดับของกลุ่มอาเซียน โดยรวม ได้แก่ ไทย มาเลเซีย บรูไน สหภาพพม่า และ
กัมพูชา ตามล�าดับ (ตารางผนวกที่ 1)
ตารางที่ 2.1 โครงสร้างผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงและการท�าประมงจากแหล่งน�้าธรรมชาติ
ปี 2554
ปริมาณผลผลิต (ล้านตัน)
รายการ
จากการเพาะเลี้ยง จากการท�าประมง รวมจากภาคการ
ประมง
อินโดนีเซีย 7.937 5.714 13.651
เวียดนาม 3.053 2.503 5.555
ฟิลิปปินส์ 2.608 2.367 4.975
ไทย 1.008 1.862 2.870
สหภาพพม่า 0.817 3.333 4.150
มาเลเซีย 0.527 1.383 1.909
สปป.ลาว 0.086 0.031 0.117
กัมพูชา 0.072 0.490 0.562
สิงคโปร์ 0.004 0.002 0.006
บรูไน 0.001 0.002 0.003
รวมอาเซียน 16.112 17.687 33.799
รวมทั่วโลก 83.729 94.594 178.323
สัดส่วน (ร้อยละ)
อินโดนีเซีย 58.14 41.86 100.00
เวียดนาม 54.95 45.05 100.00
ฟิลิปปินส์ 52.42 47.58 100.00
ไทย 35.12 64.88 100.00
สหภาพพม่า 19.69 80.31 100.00
มาเลเซีย 27.58 72.42 100.00
สปป.ลาว 73.57 26.43 100.00
กัมพูชา 12.81 87.19 100.00
สิงคโปร์ 71.06 28.94 100.00
บรูไน 20.15 79.85 100.00
รวมอาเซียน 47.67 52.33 100.00
รวมทั่วโลก 46.95 53.05 100.00
ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
8 >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน