Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




            ตารางที่ 2.10 ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศสิงคโปร์ ปี 2554 (ต่อ)

                    ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)

                                    สิงคโปร์ ปริมาณรวม 3.972 พันตัน

                      น�้าจืด                น�้ากร่อย                ทะเล
                nd
               (2 ; 0.48 พันตัน; 12.17%)   (3 ; 0.01 พันตัน; 0.18%)  (1 ; 3.48 พันตัน; 87.65%)
                                         rd
                                                                st
              ปลาหัวโต (11 ; 0.002; 0.05%)
                        th
              ปลาไหล (11 ; 0.002; 0.05%)
                       th
              ความส�าคัญของสัตว์น�้าที่ศึกษา (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยง: %)
                                                              ปลากะรัง (5 ; 0.14; 3.62%)
                                                                     th
                                                                     th
                                                              ปลานิล (7 ; 0.05; 1.07%)
                                                                      th
                                                              หอยนางรม (9 ; 0.01; 0.18%)
            ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
            2.11 การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของประเทศบรูไน

                  บรูไนยังมีผลผลิตสัตว์น�้าไม่เพียงพอส�าหรับการบริโภคภายในประเทศ ต้องอาศัยการน�าเข้า
            การเพาะเลี้ยงในประเทศบรูไนมีต้นทุนสูง ส่วนใหญ่เป็นการเพาะเลี้ยงในน�้ากร่อยมีทั้งการเลี้ยง

            กุ้งและปลา การเลี้ยงกุ้งกุลาด�าประสบปัญหาโรคระบาดเช่นเดียวกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ
            ซึ่งส่งผลให้บรูไนหันไปเลี้ยงกุ้งสีฟ้า และยังมีการเลี้ยงปลาทะเลในน�้ากร่อย การเพาะเลี้ยงในน�้าจืด
            มักจะเป็นการเลี้ยง ปลานิล ปลาดุก ปลาไน ปลาช่อน และปลาตะเพียน ซึ่งมักเป็นการเลี้ยงขนาดเล็ก
                  บรูไนเป็นประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงน้อยที่สุด แต่ก็ได้เร่ง
            พัฒนาการเพาะเลี้ยง ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงในปี 2554 ยังอยู่ในหลักร้อย คือเพียง 530 ตัน
            คิดเป็นร้อยละ 20.15 ของผลผลิตรวมจากภาคการประมง ยังต้องพึ่งพาผลผลิตจากการท�าประมง
            จากแหล่งน�้าธรรมชาติเป็นส�าคัญ ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงเกือบทั้งหมดมาจากการเพาะเลี้ยง
            ในน�้ากร่อย ยังไม่มีการเพาะเลี้ยงในทะเล และที่มาจากการเพาะเลี้ยงในน�าจืดก็มีเพียงประมาณ
            ยี่สิบตันและไม่ได้จ�าแนกชนิดไว้ สัตว์น�้าที่มีผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงมากที่สุด คือ การเลี้ยงกุ้งสีฟ้า

            ผลผลิต 320 ตัน (ร้อยละ 60.38) ตามมาด้วย ปลากะพง กุ้งกุลาด�า ปลากะพงขาว ปลาข้างเหลือง
            และปลากะรัง (ตารางที่ 2.11)


















            24    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38