Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่
3 การค้าสินค้า
สัตว์น�้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
และศักยภาพการส่งออก
ในบทนี้จะน�ำเสนอกำรใช้ผลผลิตสัตว์น�้ำในแต่ละประเทศสมำชิกอำเซียน เพื่อประกอบกำร
พิจำรณำโอกำสทำงกำรค้ำสัตว์น�้ำ ตำมมำด้วยกำรสรุปศักยภำพกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น�้ำของประเทศ
สมำชิกอำเซียน เปรียบเทียบศักยภำพในกำรส่งออกสินค้ำสัตว์น�้ำจำกประเทศสมำชิกไปยังตลำด
ปลำยทำงหลัก และกำรส่งออกไปยังภูมิภำคอำเซียน โดยใช้แนวคิดแบบจ�ำลอง BCG (Boston
Consulting Group) ในกำรพิจำรณำ สวนแบ่งกำรส่งออกและอัตรำเติบโตของกำรส่งออกแบ่ง
ต�ำแหน่งกำรค้ำของแต่ละประเทศสมำชิกออกเป็นสี่กลุ่ม คือ กลุ่มแรก เป็นประเทศที่มีส่วนแบ่ง
สูงและอัตรำเติบโตสูง สำมำรถขยำยกำรส่งออกในตลำดปลำยทำงได้ เป็นประเทศที่มีศักยภำพ
กำรค้ำสูง ซึ่งก็คือกลุ่ม “STARS” กลุ่มที่สอง มีส่วนแบ่งสูงแต่อัตรำเติบโตต�่ำ มีศักยภำพเป็น
รองกลุ่มแรก ซึ่งมักเป็นเพรำะได้ขยำยตลำดมำมำกแล้วเติบโตไม่ได้มำก แต่ยังมีโอกำสท�ำรำยได้
เพิ่มขึ้นจำกกำรส่งออก เป็นกลุ่ม “CASH COWS” ที่ท�ำเงิน กลุ่มที่สาม มีอัตรำเติบโตสูงแต่ส่วน
แบ่งต�่ำ ศักยภำพเป็นรองสองกลุ่มแรก อำจเป็นเพรำะเพิ่งเริ่มส่งออกในตลำดนี้หรือมีควำมสำมำรถ
ในกำรผลิตเพื่อส่งออกจ�ำกัด ท�ำให้ส่งออกได้ไม่มำกส่วนแบ่งจึงต�่ำ แต่ยังมีโอกำสขยำยกำร
ส่งออกจึงมีอัตรำเติบโตสูง เป็นกลุ่ม “QUESTION MARKS” ที่ต้องกำรหำช่องทำงเพิ่มโอกำสกำร
ส่งออก และ กลุ่มที่สี่ มีส่วนแบ่งตลำดและอัตรำเติบโตต�่ำด้อยศักยภำพ เป็นกลุ่ม “DOGS” ทั้งนี้
ข้อมูลที่ใช้ในกำรวิเครำะห์เป็นข้อมูลจำก International Trade Center ช่วงปี 2550 - 2553
โดยเลือกมำเฉพำะรำยกำรที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น�้ำที่ศึกษำ ซึ่งเป็นสัตว์น�้ำที่ส�ำคัญในกำรเพำะเลี้ยง
ของไทยสิบสองชนิด อย่ำงไรก็ตำมข้อมูลที่ได้มำจำก International Trade Center แสดงค่ำ
กำรส่งออกไว้เป็นสัตว์น�้ำโดยรวมไว้ทั้งส่วนที่ได้มำจำกกำรเพำะเลี้ยงและกำรท�ำประมงจำกแหล่ง
น�้ำธรรมชำติ
26 >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน