Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




              ตารางที่ 2.11 ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงที่ส�าคัญในประเทศบรูไน ปี 2554

                      ชนิดสัตว์น�้า (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)

                    น�้าจืด (2 ; 0.020 พันตัน; 3.77%)  น�้ากร่อย (1 ; 0.510 พันตัน; 96.23%)
                          nd
                                                              st
                    ปลาน�้าจืด                         กุ้งสีฟ้า (1 ; 0.32; 60.38%)
                                                             st
                                                       ปลากะพง (2 ; 0.04; 7.55%)
                                                               nd
                                                       กุ้งกุลาด�า (3 ; 0.03; 5.66%)
                                                               rd
                                                       ปลากะพงขาว (3 ; 0.03; 5.66%)
                                                                  rd
                                                       ปลาข้างเหลือง (3 ; 0.03; 5.66%)
                                                                  rd
                                     ความส�าคัญของสัตว์น�้าอื่นๆ ที่ศึกษา
                          (อันดับที่; ปริมาณ: พันตัน; ส่วนแบ่งผลผลิตเพาะเลี้ยงทั้งหมด: %)
                                                       ปลากะรัง (6 ; 0.005; 0.94%)
                                                               th
              ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)

                   ประเทศไทยมีโอกาสเข้าไปเพาะเลี้ยงในบรูไน ซึ่งมีการจัดพื้นที่เพื่อส่งเสริมการเพาะเลี้ยงไว้
              แต่ผู้ประกอบการไทยไม่สนใจเข้าไปเพาะเลี้ยงเนื่องจากเห็นว่าขนาดของธุรกิจยังไม่ใหญ่พอที่จะ
              เข้าไปลงทุน และมีโอกาสที่ประเทศไทยจะส่งผลผลิตเข้าไปขายให้แก่บรูไน
                   ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าของประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทั้งใน
              อาเซียนเก่าได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย มาเลเชีย สิงค์โปร และบรูไน อาเซียนใหม่ได้แก่
              เวียดนาม เขมร ลาว และพม่า นั้น ต่างก็มีแรงขับเคลื่อนมาจากการเพิ่มการผลิตสัตว์น�้า
              เพื่อทดแทนการจับจากแหล่งธรรมชาติที่นับวันจะมีจ�านวนที่ถดถอยลง อันน�าไปสู่การพัฒนาการ
              เพาะเลี้ยงทั้งที่เป็นสัตว์น�้าจืดและสัตว์น�้าทะเล การพัฒนาด้านการเพาะเลี้ยงในแต่ละประเทศจะ
              มีเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงที่แตกต่างกันไป รวมถึงชนิดของสัตว์น�้าที่ท�าการเพาะเลี้ยง อย่างไร
              ก็ตามสัตว์น�้าที่เพาะเลี้ยงได้ส่วนใหญ่กระจายไปสู่ผู้บริโภคในประเทศเป็นส�าคัญ แต่ก็มีบาง
              ประเทศการเพาะเลี้ยงได้พัฒนาไปสู่การส่งออก ในบทต่อไปจะได้น�าเสนอให้เห็นสถานภาพด้าน
              ตลาดการค้าสัตว์น�้าในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนและรวมถึงตลาดการส่งออกสินค้าสัตว์น�้า
              บางชนิดรวมถึงประเทศผู้ส่งออกที่ส�าคัญ
























                          สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน >> I 25 I
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39