Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             49








                  (octahedral plane) ประกอบด้วยความเค้นในแนวตั้งฉาก (normal stress)  และความเค้นใน

                  แนวสัมผัส (tangential stress) เรียกความเค้นนี้ว่า   ความเค้นตั้งฉากออคตะฮีดรัล (octahedral

                  normal stress) ( )   และความเค้นเฉือนออคตะฮีดรัล (octahedral shear stress) ( )  โดย
                                                                                        oct
                                 oct
                  แสดงในรูป Invariants ดังนี้
                                        1                        1
                               =       3  σ 1   σ 2   σ 3    3  I
                           oct
                                                                     1
                                        1
                                                                    2
                                                      2
                               =       3   σ   σ 2   σ    σ 3   σ   σ 3 
                                                                                  2
                                              1
                           oct
                                                             2
                                                                           1
                                          2
                                =           I        I 3
                                              2
                                          9   1     2

                         คุณสมบัติข้อที่ 5 stress tensor มีคุณสมบัติสามารถบวกและลบกันได้    ทั้งนี้ stress
                  tensor ประกอบด้วยส่วนของความเค้นเฉลี่ย (mean stress) และ deviatoric stress   แสดงได้
                  ดังนี้


                                                                  σ
                   σ x   τ xy   τ xz     σ m   O        O    σ    m     τ xy      τ xz  
                                                                   x
                                                                                        
                       τ yx  σ y  τ yz   =   O  σ m     O  +  τ yx     σ y  σ m   τ yz  
                                                                                        
                    τ    τ      σ      O       O        σ      τ         τ       σ  σ  
                    zx     zy     z                       m     zx        zy      z    m 


                         คุณสมบัติข้อที่ 6  เป็นคุณสมบัติข้อสุดท้ายของ stress tensor  ส่วนประกอบของค่า
                  ความเค้นในมาทริกซ์จะสัมพันธ์กับระบบโคออดิเนต      หมายความว่าสามารถค านวณหา

                  ความเค้นได้ในทุกทิศทาง      จากรูป3.5  พิจารณาที่จุด  A    ทั้งนี้  ความเค้นหลักค่าที่สอง

                  (second principal stress) มีทิศทางตั้งฉากกับระนาบของภาพที่วาด   ค่าความเค้นบนระนาบ l

                  ท ามุม   กับแนวระดับ   จะสังเกตได้ว่าความเค้นบนระนาบ l เท่ากับความเค้นบนระนาบ
                  pq  ซึ่งขนานกับระนาบ l    เมื่อต้องการค านวณหาค่าความเค้นตั้งฉาก  และความเค้นเฉือน

                   บนระนาบ l   ท าได้โดยการพิจารณาสมดุลแรงของรูปสามเหลี่ยม pqr   และเพื่อความ

                  สะดวกจึงสมมุติให้ความหนาของรูปสามเหลี่ยม  pqr  มีค่าหนึ่งหน่วย  (ตั้งฉากกับรูป  pqr  ที่
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64