Page 64 -
P. 64

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             54








                         ทั้งนี้ E คือ โมดูลัสความยืดหยุ่น (modulus of elasticity)   และ   คือ อัตราส่วนโพ

                  ซอง (poisson’ s ratio)



                  3.2  ทฤษฎีการแตกของดิน (Soil  fracture theories)
                         3.2.1  ทฤษฎี Coulomb

                         ทฤษฎี Coulomb ที่น ามาใช้กับการวิบัติดิน (soil failure)   เป็นทฤษฎีพื้นฐานในด้าน

                  กลศาสตร์ดิน    ทฤษฎีนี้ถูกน ามาใช้อย่างกว้างขวางเพื่ออธิบายหลักความเค้น    เมื่อค่าความ

                  เค้นเฉือน (shear stress) มีค่ามากกว่าค่าที่แสดงในสูตร
                               =       C  +   tan 

                               :       ความเค้นเฉือน

                         C           :   แรงดึงดูด  (bonding  force)  ระหว่างอนุภาคดินต่อหน่วยพื้นที่

                                        หรือความเชื่อมแน่นของดิน (soil cohesion)
                               :       ความเค้นตั้งฉาก (normal stress) บนระนาบวิบัติ (failure plane)

                                   :   มุมเสียดทานภายใน (angle of internal friction) หรือมุมต้านแรง

                                        เฉือน (angle of  shearing resistance)

                         สมการนี้แสดงแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ (mathematical model)  เพื่อจะแสดงการ
                  วิบัติดินในลักษณะการเฉือน  (shearing)    ทฤษฎี  Coulomb  สามารถถูกแสดงโดยกราฟ

                  เส้นตรง  AB   ตามที่แสดงในรูป 3.7   ถ้าดินตัวอย่างถูกแรงกด (compressive force) ด้วย

                  ความเค้น   และ  ( >   ) ตามที่แสดงในรูป 3.7    การวิบัติดินจะเกิดขึ้นในลักษณะ
                            1
                                    3
                                        1
                                             3
                  เฉือนเมื่อค่าความเค้นเฉือนมีค่ามากกว่าเส้น  AB      ทั้งนี้ระนาบการวิบัติดินลักษณะเฉือนมี
                  ทิศทาง (45    /2)     ท ามุมกับค่าความเค้นหลักสูงสุด (maximum principal stress)  
                            o
                                                                                              1
                  เพราะว่าเส้น  AB  ในรูปแสดงสภาวะการวิบัติของดินตัวอย่าง    เส้น  AB  เป็นเส้นขอบเขต
                  แสดงการวิบัติ (failure envelope) ของวงกลมมอร์ (Mohr’s circle)  ขนาดความเค้นหลัก

                  ของสถานะความเค้น  (state  of  stress)  ซึ่งเป็นสาเหตุการวิบัติของดินตัวอย่างถูกแสดงโดย
                  วงกลมมอร์
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69