Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             51








                         3.1.4  ทฤษฎีความเครียด (Strain theory)

                         ดินเมื่อถูกแรงกระท าจะมีความเค้นและความเครียดเกิดขึ้นเสมอ  การพิจารณาการ

                  เกิดความเครียดก็เหมือนกับความเค้น   กล่าวคือ    ความเครียดที่กระท าบนวัตถุประกอบด้วย
                  ความเครียดตั้งฉาก (normal strain)    และความเครียดตามแนวแรงเฉือน (shear strain)




















                             รูป 3.6   (ก)   แสดงการก าหนดนิยามส่วนประกอบค่าความเครียด

                                      (ข)  strain tensor
                                      (Koolen  and  Kuipers , 1983)



                         วัตถุมีขนาดความยาว l ตามรูป 3.6 (ก)  เมื่อมีแรงกระท า  ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

                  ค่าความยาวจาก l เป็นค่า (l + l)   จะได้ค่าความเครียดตั้งฉากเท่ากับ l/l   ส าหรับค่า
                  ความเครียดตามแนวแรงเฉือนเกิดจากการเปลี่ยนรูปร่างเชิงมุม    เมื่อวัตถุที่มีด้านเล็กๆ  ถูก

                  แรงกระท า    ท าให้ด้านตั้งฉากหมุนทิศทางตามเข็มนาฬิกาไปจากแนวเดิมท าให้เกิดมุม  

                  และด้านแนวระดับหมุนทิศทางทวนเข็มนาฬิกาไปจากแนวเดิมท าให้เกิดมุม    ดังนั้น

                         ค่าความเครียดตามแนวแรงเฉือน         =       1 α
                                                                              β
                                                                     2
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66