Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             52








                         ที่จุด A พิจารณาดินรูปลูกบาศก์ขนาดเล็กมีด้านต่างๆ ในระบบโคออดิเน็ต XYZ

                  เมื่อดินรูปลูกบาศก์ถูกแรงกระท า    จะเกิดการเปลี่ยนรูปก้อนดินจากรูปลูกบาศก์เป็นรูป

                  ลูกบาศก์ลักษณะโย้ (parallellepiped)   และด้านคู่ขนานก็ยังคงขนานกัน    แต่ความยาวเปลี่ยน
                  ไปดังนี้

                                ค่าความเครียดในแนวแกน  X  แทนด้วย  
                                                                    x
                                ค่าความเครียดในแนวแกน  Y  แทนด้วย  
                                                                    y
                                ค่าความเครียดในแนวแกน  Z  แทนด้วย  
                                                                    z
                         ในขณะเดียวกันมุมของลูกบาศก์ก็จะเปลี่ยนไปเมื่อได้รับแรงเฉือนกระท าดังนี้
                                ค่าความเครียดตามแนวแรงเฉือนระหว่างแกน X กับแกน Y แทนด้วย 
                                                                                            xy
                                ค่าความเครียดตามแนวแรงเฉือนระหว่างแกน X กับแกน Z แทนด้วย 
                                                                                            xz
                                ค่าความเครียดตามแนวแรงเฉือนระหว่างแกน Y กับแกน Z แทนด้วย 
                                                                                            yz
                         ทั้ง  6  ค่า     สามารถเขียนในรูปมาทริกซ์ดังรูป 3.6    ก าหนดให้ทุกค่าเป็นบวก

                  มาทริกซ์ที่ได้เรียกว่า “strain tensor” หรือ “deformation tensor”     ทั้งนี้มีคุณสมบัติเหมือนกับ
                  stress tensor ดังได้กล่าวมาแล้ว    ต าแหน่งความเค้นที่มีค่าความเครียดตามแนวแรงเฉือนเป็น

                  ศูนย์    จะได้ความเครียดในแนวแกนมีค่า      และ   ดังนี้
                                                       1   2
                                                                 3

                                              ε  1     O       O  
                                                                  
                                              O        ε  2    O  
                                                                  
                                              O        O       ε    3
                                             

                                                                           1
                  ที่ต าแหน่งใดต าแหน่งหนึ่งค่าความเครียดเฉือนจะมีค่าสูงสุดเท่ากับ   ( -   )  หรือ  
                                                                                             max
                                                                               1
                                                                                    3
                                                                           2
                  =          -      หรือค่า  the first invariant  ของการเปลี่ยนแปลงรูป (deformation)  เท่ากับ
                        1
                             3
                         J      =         +   +         =         +     +   3
                                              y
                          1
                                          x
                                                   z
                                                                   2
                                                             1
                  เมื่อ    J   เป็นค่าสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของรูปลูกบาศก์  (the  fractional  volume
                         1
                  change of  the cube)
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67