Page 68 -
P. 68

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             58








                  หรือทะลุขวาง  (transverse)  ขอบเขตผิว  Roscoe  (R)  หรือผิว  Hvorslev  (H)    ขณะนี้ดิน

                  ตัวอย่างจะมาถึงจุดคราก (yield)  และก็เกิดการวิบัติ (failure)

                         ถ้าสภาวะแรกเริ่มดินตัวอย่างอยู่ในต าแหน่งไกลจากด้าน  critical  state  wall  หรือ
                  อาณาบริเวณเปียก (wet region)   ขณะที่ดินถูกแรงกดในสภาวะ p และ q มีค่าเพิ่มมากขึ้น

                  จนกระทั่งเส้นทางเดินของความเค้นมาถึงผิว  Roscoe  (R)    ที่ต าแหน่งนี้ดินจะเกิดการวิบัติ

                  ลักษณะการไหล (flow failure)  แต่ถ้าสภาวะแรกเริ่มดินตัวอย่างวางอยู่ในต าแหน่งใกล้กับจุด

                  ก าเนิด  (origin)  หรือ  อาณาบริเวณแห้ง  (dry    region)   ภายหลังจากให้โหลดกระท าและ
                  เส้นทางเดินของความเค้นมาถึงผิว Hvorslev (H)   ดินตัวอย่างจะแยกออกจากกัน (dilate) และ

                  เกิดวิบัติในลักษณะ brittle   ทฤษฎีนี้พิจารณาความพรุนของดิน (porosity) ด้วย   ซึ่งคล้ายกับ

                  สภาพดินเกษตรกรรม  (agricultural  soil)      ทั้งนี้ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางและ

                  สามารถประยุกต์ได้กับปัญหาต่างๆ       ปรากฏการณ์การแตกของดิน (soil fracture)  อาจจะถูก
                  อธิบายหรือแก้ปัญหาได้โดยใช้ทฤษฎี  critical  state  soil  mechanics



                  3.3 คลื่นความเค้น (stress waves) ที่เกิดในตัวกลางอีลาสติกซึ่งถูกจ ากัดขอบเขต (bounded
                      elastic medium)

                         ถ้ามีโหลด (load)  กระท ากับวัตถุ    ส่วนของวัตถุ   ณ   ต าแหน่งใกล้บริเวณที่โหลด

                  กระท าจะได้รับผลการกระท าเป็นอันดับแรก   การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุเนื่องจาก
                  โหลดกระท าจะกระจายผ่านวัตถุในลักษณะคลื่นความเค้น (stress  wave)

                         รูป  3.10  แสดงแท่งวัตถุมีพื้นที่หน้าตัด    A      ก าหนดให้ยังส์โมดูลัส  (young’s

                  modulus) และน ้าหนักต่อหน่วยปริมาตรของวัตถุ (unit weight of material) แทนสัญลักษณ์

                  E และ    ตามล าดับ   ความเค้นที่ต าแหน่ง  a – a  ของแท่งวัตถุเท่ากับ    และความเค้นที่
                          m
                  ต าแหน่ง  b – b  เท่ากับ   +  (   /   x) x
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73