Page 72 -
P. 72

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             62








                         ขณะที่ค่า X  มีค่าเพิ่มมากขึ้น   ค่าแรงเฉือน F ก็จะมีค่าเพิ่มมากขึ้นในอัตราส่วนการ

                  เพิ่มที่เหมาะสม    จนกระทั่งค่าความแข็งแรงเฉือน (shear strength) ของดินมีค่ามากที่สุด

                  เท่ากับ F    ทั้งนี้ตัวอย่างดินที่ใช้ทดสอบจะถูกท าหลายครั้งซ ้ากัน    โดยใช้ตัวอย่างดินชนิด
                          m
                  เดียวกันหรือใช้ตัวอย่างที่คล้ายกัน   การทดสอบจะท าที่ค่าแรงกระท าในแนวดิ่ง N ค่าต่างๆ

                  กัน    และค่าแรงเฉือน F  สามารถหาค่าได้จากการทดสอบในแต่ละครั้ง    จากนั้นกราฟจะ
                                       m
                  ถูกเขียนจากความสัมพันธ์ระหว่างค่า F และ N ตามที่แสดงในรูป 3.13  และเส้นตรงจะถูก
                                                   m
                  ลากผ่านจุดต่างๆ ที่เป็นผลการทดสอบ    ทั้งนี้มุมเสียดทานภายใน (angle of  internal friction)

                   ก็คือค่าความชัน (slope) ของเส้นตรงดังกล่าว   จุดตัดของเส้นตรงบนแกน F คือค่าความ
                                                                                    m
                  เชื่อมแน่นของดิน (soil cohesion)  C  คูณค่าพื้นที่หน้าตัดวงแหวนซึ่งเป็นส่วนที่ดินเกิดการ

                  เฉือน































                   รูป 3.13   กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง แรงเฉือนที่ท าให้ดินวิบัติ F  กับแรงในแนวดิ่ง
                                                                              m
                           N   เพื่อหาค่ามุมเสียดทานภายใน   และค่า CA

                                   (McKyes , 1985)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77