Page 54 -
P. 54

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             44








                  บนระนาบ YZ   ความเค้นเฉือน   และ   กระท าบนระนาบ XZ  และความเค้นเฉือน 
                                               yx
                                                      yz
                                                                                              zx
                  และ  กระท าบนระนาบ XY    ทั้งนี้ก้อนดินรูปทรงลูกบาศก์นี้มีขนาดเล็กมาก   ดังนั้นความ
                        zy
                  เค้นที่ปรากฏด้านตรงข้ามกับระนาบทั้งสามจึงไม่ต้องน ามาคิด    เมื่อพิจารณาความเค้นกระท า
                  ต่อก้อนดินรูปทรงลูกบาศก์ขนาดเล็ก      ในขั้นแรกดินจะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการอัดตัว

                  (compacted)    ทั้งนี้เป็นผลเนื่องจากความเค้นตั้งฉาก    ขั้นต่อมาดินจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
                  รูปร่าง (deformed)    เป็นผลเนื่องจากความเค้นเฉือน      และดินแตกตัว (broken) ในล าดับ

                  ต่อมา

                         3.1.2   ทฤษฎีความเค้น (stress  theory)
                         จากรูป 3.2  เส้นลายปะแสดงขอบเขตของดินที่ถูกแรงกระท า   พิจารณาที่จุด A ดิน

                  รูปทรงลูกบาศก์      และเลือกแกน X Y Z  เป็นแกนโคออดิเนต (co – ordinate) ของระบบ

                  พิจารณาระนาบทั้งสามด้านของรูปลูกบาศก์   ระนาบแรกแสดงในรูป 3.2 ข   แทนระนาบด้าน
                  ขวามือของลูกบาศก์    ความเค้นบนระนาบนี้จะมีความเค้นตั้งฉาก   กระท ากับระนาบ
                                                                              y
                  X Z    และค่าความเค้นเฉือน 2 ค่า คือ    และ      ทั้งนี้ subscript  แรกของค่า    จะแทน
                                                   yx
                                                           yz














                             รูป 3.2   ส่วนประกอบ stress  tensor (Koolen  and  Kuipers ,1983)


                  แนวแกนเดียวกับค่าความเค้นตั้งฉากทิศทาง y  และ subscript ที่ 2 แทนด้วยแกนที่ขนานกับ

                  ค่าความเค้นเฉือน   คือแกน X  และ Z    ส่วน 2 ระนาบที่เหลือของรูปลูกบาศก์คือระนาบ

                  ด้านบนแสดงในรูป 3.2 ค      และระนาบด้านหน้าของลูกบาศก์แสดงในรูป 3.2 ง    การที่
                  พิจารณาความเค้นที่จุด A บนระนาบต่างๆ ของรูปลูกบาศก์   พิจารณา 3 ด้านจาก 6 ด้านของ

                  รูปลูกบาศก์   ทั้งนี้เนื่องจากสมมุติให้ลูกบาศก์มีขนาดเล็กมากจนท าให้ค่าความเค้นที่อยู่บน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59