Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                             43








                  ใหญ่หรือเล็กต่างกัน   แต่สิ่งส าคัญและมีผลต่อดินคือ   ความเข้มแรง (force intensity) หรือ

                  แรงต่อหน่วยพื้นที่บนผิวเครื่องมือ   ถ้าความเข้มแรงมีค่ามากจะท าให้เกิดการอัดตัวของดิน











                    รูป 3.1 แสดงความเข้มแรง (force  intensity) ที่เกิดเนื่องจากเครื่องมือ tine กระท าต่อดิน

                           (Koolen  and  Kuipers , 1983)


                  (soil compaction)  ท าให้เกิดความเครียด (strain) สูง   และท าให้ดินแตกเป็ นก้อนเล็ก

                  (Koolen  and Kuipers ,1983)

                  ทั้งนี้ความเข้มแรงมีความสัมพันธ์ดังนี้
                                                                 ผลรวมแรงกร  ะท าบนพื้นท dA  ีีี่
                                ความเข้มแรง (force intensity)                =
                                                                          พื้นท dA  ี่


                            lim     แรงกระท าบน พื้นที่ dA
                                                              =          p
                          dA   o         พื้นที่ dA


                         ความเค้น (stress)  p  กระท าบนผิวของเครื่องมือที่จุด D  สมมุติที่จุด B  ความเค้น P l

                  กระท าบนระนาบ l  ขนาดของ P ขึ้นอยู่กับทิศทางระนาบ l แต่ถ้าเลือกระนาบ m ค่าความ
                                              l
                  เค้นกระท าคือ P  (รูป 3.1)  ถ้าพิจารณาในลักษณะเป็นลูกบาศก์   สามารถอธิบายค่าความเค้น
                               m
                  ได้ในทางทฤษฎีความเค้น (stress  theory)   โดยพิจารณาทิศทาง  3  แกน   คือ แกน X แกน

                  Y  และแกน  Z    เมื่อมีความเค้นกระท ากับก้อนดินรูปทรงลูกบาศก์ (รูป 3.2)    ทั้งนี้
                  พิจารณาที่จุด A  ความเค้นตั้งฉาก (normal  stress)    , และ    กระท าในทิศทาง
                                                                       y
                                                                               z
                                                                   x
                  X,  Y, และ Z  ตามล าดับ    นอกจากนี้มีความเค้นเฉือน (shear stress)    และ   กระท า
                                                                                       xz
                                                                                xy
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58