Page 148 -
P. 148
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
139
5.1.3 การแปลงจุดพิกัดแบบ Reverse Mapping
ปญหาจุดพิกัดซ้ําซอนและการเกิดชองวางของจุดพิกัดในการแปลงแบบ forward
mapping สามารถแกไขไดดวยการทํา reverse mapping วิธีนี้จะมองจุดพิกัดของภาพ
เอาทพุตเปนหลัก แลวทําการคํานวณหาจุดพิกัดของภาพอินพุตที่สอดคลองกับจุด
พิกัดเอาทพุตที่กําลังสนใจ สมการที่ใชในการแปลงจุดพิกัดแบบ reverse mapping คือ
x = R x (x′ , y ), ′ y = R y (x′ , y ) ′ (5.12)
ผลลัพธที่ไดจากการแปลงจุดพิกัดในสมการที่ 5.12 นั้นโดยทั่วไปจุดพิกัดที่ไดจะไม
เปนเลขจํานวนเต็ม จึงตองทําขั้นตอนที่สองคือประมาณคาความสวางในตําแหนง
ภาพที่ไมเปนเลขจํานวนเต็มในภาพอินพุต คาที่ประมาณไดจะเปนคาความสวางของ
จุดพิกัด (x’,y’) ในภาพเอาทพุต
5.2 การประมาณคาความเขมแสง (Brightness Interpolation)
Interpolation เปนศัพททางคณิตศาสตรหมายถีงการประมาณคาฟงกชัน ณ. ตําแหนง
ที่กําหนด brightness interpolation ทําการประมาณคาความสวางของจุดพิกเซลใหมที่
ไดจากการแปลงตําแหนงเชิงเรขาคณิตเมื่อจุดพิกัดที่คํานวณไดเปนเลขทศนิยม จุด
พิกัดไมตกลงตําแหนงใดๆที่มีอยูในภาพตนฉบับเลย ทําใหตองประมาณคาความ
สวางของจุดภาพที่ไมเปนเลขจํานวนเต็ม การประมาณคาความสวางจะอาศัย
สมมติฐานที่วาความเขมแสงภายในภาพมีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่องคอยเปนคอย
ไป การประมาณคาความสวางของจุดภาพใดๆจึงอาศัยคาความสวางของจุดภาพ
รอบๆจุดนั้น วิธีการที่ใชในการประมาณคาความเขมแสงมีหลายวิธี วิธีที่ใชกันบอย
ไดแก
1. Nearest neighborhood interpolation
2. Bi-linear interpolation
3. Bi-cubic interpolation