Page 150 -
P. 150

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       141

                                   (x’,y2) ดวยสมการที่ (5.14) และ (5.15) แลวจึงนําคาที่คํานวณไดทั้งสองมาคํานวณคา

                                   ในแนวแกน y คา (x’, y’)  ดวยสมการที่ (5.16)


                                                         2 x −  ' x      ' x −  1 x
                                              f  (x  , '  ) 1 y =  Q (x  , 1  ) 1 y +  Q (x  , 2  ) 1 y
                                                        2 x −  1 x      2 x −  1 x                            (5.14)


                                                          2 x −  ' x        ' x −  1 x
                                              f  (x  , '  ) 2 y  =  Q (x  , 1  ) 2 y  +  Q (x  , 2  ) 2 y
                                                          2 x −  1 x       2 x −  1 x                         (5.15)


                                                          2 y −  ' y        ' y −  1 y
                                               f  (x  , '  ) ' y =  Q (x  , '  ) 1 y +  Q (x  , '  ) 2 y
                                                          2 y −  1 y       2 y −  1 y                           (5.16)



                                   5.2.3  Bi-Cubic Interpolation


                                   การประมาณคาความเขมแสงวิธีนี้จะมีความสลับซับซอนมากกวาสองวิธีแรกมาก  จึง

                                   เปนวิธีที่ใชเวลาในการคํานวณนาน  แตคาที่ประมาณไดจะมีความตอเนื่องมากกวา
                                   สองวิธีแรก  เนื่องจากเปนเทคนิคที่ซับซอนเราจะศึกษาการประมาณคาแบบ bi-cubic

                                   ผานสมการทั่วไปของการประมาณคาความเขมแสงซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้



                                   กรณีสัญญาณ 1  มิติ  f(x)  ที่มีการสุมตัวอยางเปนจํานวน  N  จุด  การประมาณคาของ
                                   สัญญาณ 1  มิติใดๆ  สามารถทําไดดวยการคอนโวลูชันตัวเคอรเนล (interpolation

                                   kernel, h) กับสัญญาณอินพุต f(x) ตามสมการที่ 5.17



                                                                 (xg  ) =  ∑  f  (x −  m )h (m )                                  (5.17)
                                                              m∈ N


                                   ความถูกตองหรือความตอเนื่องของผลลัพธที่ไดจากการประมาณคาสัญญาณจะ

                                   ขึ้นอยูกับฟงกชันเคอรเนลที่เลือกใช  เคอรเนลของการประมาณคาแบบ nearest
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155