Page 154 -
P. 154

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       145

                                   คาแบบ bi-cubic   จึงเปนวิธีที่นิยมใชงานกันอยางกวางขวาง  แตเปนวิธีที่ใชเวลาใน

                                   การคํานวณมากที่สุด  จึงไมเหมาะกับงานที่ตองคํานึงถึงความเร็วในการประมวลผล
                                   โดยการประมาณคาแบบ nearest neighborhood จะใชเวลาในการคํานวณต่ําสุด


                            5.4 การปรับขนาดภาพดวยการทํา Upsampling และ Downsampling



                                   การ upsampling  เปนเทคนิคสําหรับเพิ่มตัวอยางสุมของสัญญาณ  ทําใหภาพมี

                                   รายละเอียด (resolution)  เพิ่มขึ้นโดยการเปลี่ยนแปลงขนาดของจุดพิกเซลใหมีความ
                                   ละเอียดเพิ่มขึ้น  โดยทั่วไปอัตราการเพิ่มรายละเอียดของภาพที่ไดจะเปนเลขจํานวน

                                   เทาของ 2 เชน 4 , 16 เทา เปนตน


                                   การ upsampling  ภาพใหมีขนาดภาพเปน  L  เทาของภาพเดิม  ประกอบไปดวย

                                   ขั้นนตอนสองขั้นตอนดังนี้

                                         5.4.1  การเติมศูนยจํานวน  L-1  ตัวระหวางพิกเซลแตละพิกเซลของภาพ
                                                ตนฉบับ  เชน  การขยายภาพใหมีขนาดเปนสองเทาของภาพเดิม  ก็

                                                จะตองเติมศูนยหนึ่งตัวเขาระหวางแถวแตละแถวของจุดภาพ  และ

                                                เติมศูนยหนึ่งตัวเขาในแตละหลักโดยเติมศูนยหลักเวนหลัก  คําสั่ง

                                                MATLAB ที่ใชในการทํา upsampling คือคําสั่ง
                                                                   upsample(A, n)

                                            คําสั่งนี้จะเติมศูนยจํานวน  n-1  ตัวอแทรกเขาระหวางแถวแตละแถวของ

                                         ภาพ A เนื่องจากการ upsampling จะตองเติมศูนยทั้งระหวางแถวและระหวาง
                                         หลัก  หลังจากไดผลลัพธเมตริกซที่ผานการเติมศูนยระหวางแถวแลว  เรา

                                         จะตองทําการ transpose  เมตริกซผลลัพธที่ไดแลวทําการเติมศูนยดวยคําสั่ง

                                         upsample(.) อีกครั้งหนึ่ง   หลังจากนั้นจึงทํา transpose เมตริกซกลับอีกครั้ง

                                         หนึ่งดังตัวอยางชุดคําสั่ง MATLAB  ดานลาง  ซึ่งเปนชุดคําสั่งสําหรับทํา
                                         upsampling ภาพ A ใหมีขนาดใหญขึ้นเปนสองเทา



                                      >> A = magic(4)     % สรางภาพแบบสุมขนาด 4×4
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159