Page 156 -
P. 156
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
147
2. ขั้นตอนที่สองเปนขั้นตอนการประมาณคาใหกับคาศูนยที่เติมลงในภาพ ซึ่งทําโดย
การกรองภาพดวยตัวกรองความถี่ต่ํา เชนตัวกรองเกาสเซียน เปนตน รูปที่ 5.7 แสดง
ตัวกรองสําหรับใชในการประมาณคาความเขมแสงแบบ nearest neighborhood, bi-
linear และ bi-cubic
⎡1 4 6 4 ⎤ 1
⎡1 1 ⎤ 0 ⎡1 2 ⎤ 1 ⎢ 4 16 24 16 4 ⎥
⎢
⎥
⎥
⎢ 0 1 ⎢ 2 1 ⎥ 6
⎥
⎢ 1 1 ⎥ 4 ⎢ 2 4 ⎥ 64 ⎢6 24 36 24 ⎥
⎢
⎢0 0 ⎥ 0 ⎦ ⎢1 2 ⎥ 1 ⎦ ⎢ 4 16 24 16 4 ⎥
⎣
⎣
⎢ 1 4 6 4 1 ⎥
⎣
⎦
(ก) (ข) (ค)
รูปที่ 5.7 ตัวกรองแบบตางๆ (ก) nearest neighborhood (ข) bi-linear (ค) bi-cubic
คําสั่งดานลางแสดงตัวอยางโปรแกรมการกรองแบบ nearest neighborhood และ bi-
linear
>> filter2([1 1 0;1 1 0;0 0 0], a);
>> filter2[1 2 1;2 4 2; 1 2 1]/4, a);
การประมาณคาโดยการ upsampling นั้นจะใหคาเทากับการใชคําสั่ง imresize(.) นั้น
คือชุดคําสั่งการ upsampling และการกรองที่ผานมา สามารถเขียนแทนไดดวยสอง
คําสั่งตอไปนี้
>> B = imresize(A, [8,8], 'nearest');
>> B = imresize(A, [7,7], 'bilinear');
สําหรับการขยายภาพแบบ bi-linear นั้นขนาดของภาพที่ไดจะกําหนดใหเปน 7×7
เพิ่อใหจุดกลางของตัวกรองอยูตรงกลางภาพอินพุต