Page 153 -
P. 153
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
144
ภาพที่ 5.6 แสดงตัวอยางการปรับขนาดภาพดวยวิธีการประมาณคาทั้งสามแบบโดย
ใชคําสั่ง MATLAB ตอไปนี้
>> A = imread(‘sying.jpg'); imshow(A);
>> B = imresize(A,3, 'nearest');figure, imshow(B);
>> B = imresize(A,3, 'bilinear');figure, imshow(B);
>> B = imresize(A,3, 'bicubic');figure, imshow(B);
(ก) ภาพตนฉบับ
(ข) Nearest-neighborhood (ค) Bi-linear interpolation (ง) Bi-cubic interpolation
รูปที่ 5.6 การทํา interpolation แบบตางๆ
การประมาณคาความสวางทั้งสามแบบนั้นมีขอดีขอเสียที่แตกตางกัน โดยการ
ประมาณคาแบบ nearest neighborhood นั้นเปนวิธีการประมาณคาความสวางที่งาย
และรวดเร็ว แตมักจะใหภาพที่มีลักษณะเปนบล็อก มีรอยหยักตามบริเวณขอบของ
วัตถุภายในภาพ (jagged edges) ดังแสดงตัวอยางปญหาในภาพที่ 5.6(ข) ปญหานี้
เรียกวา aliasing เกิดจากความถี่ของการสุมตัวอยางจุดภาพลดลงต่ํากวาคาความถี่ไนค
วิทซ (รายละเอียดใน 1.2.2) สวนการประมาณคาแบบ bi-linear จะใหภาพที่มี
คุณภาพดีขึ้น แตภาพที่ไดจะไมคอยคมชัดนักเมื่อเทียบกับภาพที่ไดจากการประมาณ