Page 144 -
P. 144
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
135
ทําใหตองใชขั้นตอนที่สองเพื่อหาความเขมแสงที่เหมาะสมใหกับจุดพิกัดใหมที่
แปลงได
2. การประมาณคาความเขมแสง (brightness interpolation) ขั้นตอนนี้ทําหนาที่
ประมาณคาความเขมแสงใหกับจุดภาพ การประมาณคาจะอาศัยความเขมแสง
ของจุดภาพรอบๆจุดภาพนั้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของความเขมแสงภาพจะ
เปนไปอยางชาๆ ไมแตกตางจากจุดภาพโดยรอบมากนัก
5.1 การแปลงจุดพิกัด
รูปที่ 5.2 แสดงลักษณะการแปลงจุดพิกัดแบบตางๆ ในที่นี้เราจะพูดถึงการแปลงจุด
พิกัดพื้นฐานที่สําคัญสี่แบบ ไดแก การหมุน (rotation) การเปลี่ยนขนาด (scaling)
การเลื่อนขนาน (translation) และการบิดภาพ (shearing or skewing) การแปลงจุด
พิกัดทั้งสี่แบบทําโดยอาศัยการคูณเมตริกซขนาด 2×1 [x,y] ซี่งเปนเมตริกซเก็บคาจุด
พิกัด (x,y) ใดๆ
จุดพิกัดใหม (x’,y’) ของวัตถุที่หมุนตามเข็มนาฬิกาทํามุม θ กับแกน x สามารถ
คํานวณไดจากสมการ (5.2)
⎡x' ⎤ ⎡cos θ − sin θ ⎡ ⎤ ⎤ x
⎢ ⎥ = ⎢ ⎢ ⎥ ⎥
⎣ y' ⎦ ⎣ sin θ cos θ ⎣ ⎦ y ⎦ (5.2)
จุดพิกัดใหม (x’,y’) ของวัตถุที่มีการเลื่อนขนานไปในแนวแกน x ขนาด dx และมีการ
เลื่อนขนานในแนวแกน y ขนาด dy สามารถคํานวณไดจากสมการ (5.3)
⎡x' ⎤ ⎡ ⎤ x ⎡dx ⎤
⎢ ⎥ = ⎢ ⎥ + ⎢ ⎥
⎣ y' ⎦ ⎣ y ⎦ ⎣ dy ⎦ (5.3)
สมการ (5.4) เปนสมการสําหรับคํานวณตําแหนงพิกัดใหม (x’,y’) ของวัตถุเมื่อมีปรับ
ขนาดภาพในแนวแกน x และแกน y ดวยอัตราสวน Sx และ Sy ตามลําดับ โดยภาพ