Page 141 -
P. 141
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
132
3. ใชคําสั่ง MATLAB สรางตัวกรองความถี่ต่ําและความถี่สูง
(ก) ใหกรองภาพตนฉบับภาพหนึ่งดวยตัวกรองความถี่สูงแลวตามดวยตัวกรอง
ความถี่ต่ํา แลววิเคราะหเปรียบเทียบผลที่ไดกับผลลัพธที่ไดจากการกรอง
ภาพตนฉบับเดิมดวยตัวกรองความถี่ต่ําแลวตามดวยตัวกรองความถี่สูง
(ข) ทดลองเปลี่ยนขนาดตัวกรอง แลวศึกษาผลกระทบของขนาดของตัวกรอง
4. ใชคําสั่ง MATLAB สรางตัวกรองคาเฉลี่ยกับตัวกรองมัธยฐาน แลวทําการกรอง
ภาพอินพุตที่กําหนดใหดานลาง ผลลัพธภาพที่ไดจากการกรองดวยตัวกรองชนิด
ใดใหภาพที่เรียบกวา เพราะเหตุใด
14 10 8 17 0 7
10 8 5 7 1 4
6 11 244 10 2 2
9 4 9 8 4 3
5. การทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชันเปนวิธีการปรับความตางเปรียบที่ไดอธิบายไว
ในบทที่ 3 นั้น เมื่อนํามาประมวลผลแบบพื้นที่ โดยทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชัน
กับจุดพิกเซลที่อยูภายในหนาตางขนาดที่กําหนด การประมวลผลนี้เรียกวา ฮีสโต
แกรมอีควอไลเซชันแบบพื้นที่ ซึ่งนิยมใชในกรณีที่ภาพอินพุตเปนภาพที่มีแสง
พื้นหลังไมตอเนื่อง เนื่องจากการประมวลผลแบบพื้นที่พิจารณาปรับความเขม
แสงของพิกเซลในพื้นที่แคบๆซี่งมีแสงจะมีการกระจายตัวที่แตกตางกันนอยกวา
จงเขียนโปรแกรม MATLAB สําหรับทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชันแบบพื้นที่กับ
ภาพใดๆ โดยใหทําการปรับเปลี่ยนขนาดของหนาตางที่ใชในการทําฮีสโตแกรม
จากนั้นใหเปรียบเทียบและวิเคราะหผลลัพธของภาพที่ได พรอมทั้งให
เปรียบเทียบผลลัพธภาพกับผลลัพธที่ไดจากการทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชันทั้ง
ภาพวาแตกตางกันอยางไร เมื่อไรจึงควรเลือกใชการทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซ
ชันแบบพื้นที่และเมื่อใดควรเลือกใชการทําฮีสโตแกรมอีควอไลเซชันแบบทั้ง
ภาพ