Page 137 -
P. 137

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 128

                          ฟงกชันที่ใชในคําสั่ง nlfilter(.) สามารถเขียนแยกตางหากได เชน การทํา max filter

                          สามารถเขียนคําสั่งไดดังนี้


                             >>A = imread(‘roadPole.jpg’);

                             >>func = @(x) max(x(:));

                                        =
                             >>val_max nlfilter(A,[3 3],func);

















                             รูปที่ 4.16 ผลลัพธที่ไดจากการกรองภาพตนฉบับรูปที่ 4.7 ดวย max filter (ซาย)

                                                     และ min filter (ขวา)


                          คําสั่ง nlfilter(.)  จะทํางานในลักษณะสองมิติ  ทําใหเวลาตองใชในการประมวลผล

                          คอนขางมาก  คําสั่งสําหรับการกรองแบบไมเชิงเสนที่ทํางานไดเร็วกวามากคือคําสั่ง

                          colfilt(.)   คําสั่งนี้จะจัดเรียงภาพอินพุตใหอยูในรูปของคอลัมนเมตริกกอนทําการ
                          ประมวลผล มีรูปแบบการใชงานคําสั่งดังนี้



                                              B = colfilt(A, [m n] , ’sliding’, @func)


                          โดยคําสั่งจะทําการเลื่อนมาสคขนาด m×n บนเมตริกซภาพ A ที่ไดทําการจัดรูปแบบ

                          ใหเปนคอลัมนเมตริกซแลวทําการคํานวณตามที่ระบุในฟงกชัน @func  พารามิเตอร

                          ‘sliding’  เปนคําที่ระบุใหคําสั่ง colfilt(.)  ทําการประมวลผลแบบเพื่อนบานขนาด
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142