Page 142 -
P. 142

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       133

                          บทที่ 5






                          การแปลงเชิงเรขาคณิต














                                   การแปลงเชิงเรขาคณิต (geometric transform) เปนเทคนิคการจับคูแบบหนึ่งตอหนึ่ง
                                   เทคนิคนี้ทําการแปลงจุดภาพ  (x,y)  ในภาพตนแบบไปเปนจุดภาพ  (x’,y’)  บนภาพ

                                   ผลลัพธ  การแปลงในแนวแกน x และแกน y จะทําผานฟงกชัน T  และ T  ดังสมการ
                                                                                          x
                                                                                                y
                                   ตอไปนี้


                                                  x ' T=  x (x , y ),       y ' T=  y (x ,  ) y                       (5.1)



                                   ตัวอยางการแปลงเชิงเรขาคณิตที่ใชกันบอยในการประมวลผลภาพไดแก  การปรับ

                                   ขนาด และการหมุน เชน ในระบบรูจําตัวอักษร (optical character recognition) ภาพ
                                   อินพุตของระบบเปนภาพถายเอกสารหรือขอความตางๆที่อาจไดมาจากการถายรูป

                                   หรือการสแกนเอกสารเขาเครื่องคอมพิวเตอร  ซึ่งบอยครั้งที่ตัวอักษรบนภาพที่สแกน

                                   ไดจะเอียงสงผลใหการรูจําตัวอักษรทําไดยาก   ดังนั้นระบบการรูจําตัวอักษรจึงมัก
                                   ประกอบดวยขั้นตอนสําหรับตรวจสอบความเอียงของตัวอักษรและขั้นตอนการหมุน

                                   ภาพ  ขั้นตอนทั้งสองมีหนาที่ปรับตัวอักษรบนภาพอินพุตใหตั้งอยูในระนาบปกติไม

                                   เอียง  หลังจากนั้นจึงตามดวยขั้นนตอนการรูจําตัวอักษร  นอกจากนั้นการแปลงทาง
                                   เรขาคณิตยังถูกประยุกตใชงานบอยในงานที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรกราฟฟก  ซึ่ง

                                   ตองทําการจับคูจุดพิกัดของวัตถุในแกนโลกจริง (real-world coordinate) ซึ่งเปนแกน

                                   แบบสามมิติ  กับจุดพิกัดของวัตถุบนภาพซึ่งเปนจุดพิกัดในแกนสองมิติ  นอกจากนั้น
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147