Page 143 -
P. 143

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 134

                          ยังนิยมใชปรับเปลี่ยนจุดพิกัดที่ผิดเพี้ยนที่เกิดจากการถายภาพ  เชน  ภาพทัศนมิติ

                          (perspective image) ตามตัวอยางรูปที่ 5.1 เปนตน

                            y                                        y’



                                                             T





                                                            x                                      x’

                                            รูปที่ 5.1 ภาพทัศนมิติ (perspective image)








                                             (ก) Translation                 (ข) Scaling     (ค) Rotation






                                   (ง)  Perspective          (จ) Shear (skew)             (ฉ) Non-linear


                                          รูปที่ 5.2  การแปลงภาพทางเรขาคณิตแบบตางๆ



                          การแปลงภาพเชิงเรขาคณิตโดยทั่วไปจะประกอบไปดวยขั้นตอนสองขั้นตอน ดังนี้

                          1.  การแปลงจุดพิกัด (co-ordinate transformation) ขั้นตอนนี้ทําหนาที่จับคูจุดพิกัด
                              ของภาพอินพุตกับจุดพิกัดของภาพเอาทพุต  โดยจุดพิกัดที่ไดหลังการแปลงไม

                              จําเปนจะตองเปนเลขจํานวนเต็ม   โดยทั่วไปจุดพิกัดที่คํานวณไดจะเปนเลข

                              ทศนิยม  นั้นคือจุดพิกัดใหมที่ไดมักไมตกลงตรงจุดพิกัดใดๆที่มีอยูบนภาพเดิม
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148