Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 126

                   4.7      ตัวกรองแบบแยกตัวกรองได



                          ตัวกรองแบบแยกตัวกรองได (separable filters) เปนเทคนิคพิเศษในการทําคอนโวลู
                          ชันเมื่อตัวกรองที่ใชสามารถเขียนอยูในรูปผลคูณจุด (dot product) ได  เชน ตัวกรอง

                          Sobel  หรือตัวกรองลาปาเซียนที่แสดงดานลาง



                                              ⎡  1  − 2   1 ⎤  ⎡  1 ⎤
                                              ⎢             ⎥  ⎢   ⎥
                                              ⎢ −  2  4  −  ⎥  ⎢ − 2 ⎥ [ 2 =  2  1 ] 1 −
                                              ⎢  1  − 2   1 ⎥  ⎢ ⎣  1 ⎥ ⎦
                                              ⎣
                                                            ⎦

                          ตัวกรองที่แยกออกมานั้นจะมีลักษณะเปนเวคเตอรแนวนอน (U) และเว็คเตอรแนวตั้ง

                          (V)  สงผลใหเราสามารถทําการคอนโวลูชันสัญญาณภาพ F  ไดโดยการทําคอนโวลู
                          ชันภาพแตละแถวดวยมาสคแนวนอนกอน  แลวจึงทําคอนโวลูชันผลลัพธที่ไดดวย

                          มาสคแนวตั้ง  การทําดังกลาวจะชวยลดเวลาที่ใชในการประมวลผลภาพไดมาก โดย

                          ภาพขนาด N×N เมื่อทํา separable filters กับมาสคขนาด m×m เมื่อคอนโวลูชันรอบ

                          แรกในแนวนอนจะตองทําการคูณทั้งหมด m ครั้งและการบวก m-1 ครั้งสําหรับหนึ่ง
                                                       2
                                                                           2
                          พิกเชล  ทั้งภาพจีงทําการคูณ mN   และการบวก (m-1)N   ครั้ง  การคอนโวลูชันใน
                          แนวตั้งก็จะทําการคูณและบวกดวยจํานวนครั้งเทาเดิม การคอนโวลูชันทั้งภาพจึงตอง

                                                2
                                                                    2
                          ใชตัวดําเนิกการคูณ 2mN และการบวก 2(m-1)N  ในขณะที่การทําคอนโวลูชันแบบ
                                                                             2
                                                              2
                          ปกตินั้น แตละพิกเซลเราตองทําการคูณ m  และการบวก  m -1 ครั้ง การคอนโวลูชัน
                                                                    2
                                                                          2
                          ทั้งภาพจึงตองทําการคูณ m N  และการบวก  (m -1 )N  ถาขนาดของมาสคกวาง 5
                                                  2 2
                          (m=5) การทํา separable filters จะใชเวลาในการประมวลผลนอยกวาการทําคอนโวลู
                          ชันปกติอยูประมาณ 5 เทา

                   4.8      การกรองแบบไมเชิงเสน



                          การกรองแบบไมเชิงเสน (non-linear spatial filters) มีกลไกการทํางานเหมือนกับการ

                          กรองแบบเชิงเสนที่ไดกลาวมากอนหนา  คือ  ทําการเลื่อนมาสคไปตามพิกเซลตางๆ
                          ภายในภาพเพื่อทําการคํานวณคาระหวางคาความสวางที่อยูใตมาสคและคา
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140