Page 48 -
P. 48
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
35
นอกจากนั้นในการศึกษาครั้งนี้ ไดศึกษาการจัดลําดับความรับผิดชอบดวย รองประธาน
และผูจัดการใหเวลาในหนาที่ของลอจิสติกสมากและบอยครั้งไดรวมการบรรจุภัณฑ การวางแผน
ผลิตภัณฑและการพยากรณการขาย เขาไปดวย ความรับผิดชอบนี้เปนที่มาของความตองการใน
การศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องตาง ๆ
ผูบริหารที่ตองวางแผนการลอจิสติกสมีความตองการที่จะศึกษาเพิ่มเติมในดานการเงินมาก
ที่สุดถึงรอยละ 20 รองลงมาเปนเรื่องของธุรกิจ /ลอจิสติกสระหวางประเทศ และความรูทาง
คอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 15.14 และ 10 ตามลําดับ (ตาราง 2.5)
นอกจากนี้ยังมีศึกษาความคิดเห็นป จจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาและความเจริญกาวหนา
ของหนาที่ลอจิสติกสในอนาคต พบวามีคําถามอยู 2 คําถามที่เกิดขึ้นตลอดเวลา คือการเจริญเติบโต
และการพัฒนาหนาที่ของลอจิสติกสในค.ศ. 1990-2000 ซึ่งจะเห็นวารอยละ 26 ของผูบริหารเห็น
ความสําคัญในการบริหารตนทุน ทั้งหมดของการจัดการลอจิสติกสใหต่ําที่สุด และรอย 24 เห็นวา
ควรมีการพัฒนากิจกรรมการบริการลูกคาใหมีความสมบูรณแบบที่สุด (ตาราง 2-6) และจากขอมูล
ในตารางที่ 2-5 และ 2-6 ไดแสดงใหเห็นวาผูบริหารการจัดการลอจิสติกสจะตองเพิ่มความเอาใจ
ใสในการพัฒนาความชํานาญการจัดการลอจิสติกสในตางประเทศเพิ่มขึ้น
ตาราง 2-5 ความตองการศึกษาเพิ่มเติมของรองประธาน ผูอํานวยการและผูจัดการลอจิสติกส
แขนงวิชา รอยละ
การเงิน (Finance) 20
ธุรกิจ/ลอจิสติกสระหวางประเทศ (International Business/Logistics) 15
ลอจิสติกส (Logistics) 14
ความรูทางคอมพิวเตอร (Computer Science) 10
การขาย/การตลาด (Marketing/Sales) 7
ธุรกิจ/การจัดการทั่วไป (General Business/Management) 6
ทรัพยากรมนุษย (Personal/Human Resources) 5
สภาพแวดลอม/กฎหมาย (Legal/Environment) 5
ที่มา : ดัดแปลงจาก Lambert และ คณะ หนา 32