Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  33


                                 การจัดการลอจิสติกสเปรียบเสมือนอาวุธทางการตลาด

                               (Physical Distributions an Offensive Marketing Weapon)




                          การจัดการลอจิสติกสสามารถจัดไดวาเปนทรัพยากรที่ทรงคุณคายิ่งอันจะกอใหเกิดขอ
                   ไดเปรียบในการแขงขันแกองคกรเหมือนกับผลิตภัณฑ การสงเสริมการตลาด และกลยุทธราคา

                   ลอจิสติกสสามารถจะนํามาใชตอบคําถามในเบื้องตนไดอยางสมเหตุสมผลถึงสาเหตุในการซื้อของ

                   ตลาดเปาหมาย และลอจิสติกสสามารถจะนํามาใชเพื่อตอบสนองการรองขอของลูกคาที่ทําใหเกิด
                   ขอไดเปรียบในการแขงขันได

                          ผูบริหารการจัดการลอจิสติกสระดับสูงหลายทานไมเคยคิดมากอนที่จะใหการจั ดการลอจิ

                   สติกสอยูในตําแหนงที่สรางกําไรใหแกบริษัท  เหมือนกับกลยุทธของ ซี  .ลี  จอหนสัน  (C.Lee

                   Johnson ) ประธานสวนบริการจัดจําหนาย อดีตรองประธานของการดําเนินงานบริษัท บีทรีซ ฟูดส
                   (Beatrrice Foods Company ) กลาววา  ถึงแมวาหนาที่ของการจัดการลอจิสติก สในหลายปที่ผานมา

                   ไดพิสูจนแลววาสามารถลดตนทุน และเพิ่มกําไรได ธุรกิจก็จะทํางานตามทฤษฎีของการจัดการลอจิ

                   สติกสใหมีประสิทธิภาพเพื่อความไดเปรียบในการแขงขันตอไป

                          ในป ค.ศ. 1990 บริษัท 3M    ไดสํารวจลูกคา  18,000 คน  ใน 16 ประเทศของทวีปยุโรป

                   ไดรับคําตอบวา การสงของตรงตอเวลา ระยะเวลาที่รอคอยสั้น การสงของในเงื่อนไขที่ดี  และการ
                   จัดการปญหาที่มีประสิทธิภาพลวนแตเปนสิ่งสําคัญในการเพิ่มความพึงพอใจของลูกคาและยอดขาย

                   ในปจจุบันนี้  การลดลงของวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ การเพิ่มจํานวนลูกโซในชองทางการจัดจําหนาย

                   การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี   เพื่อความไดเปรียบในลอจิสติกสเปนองคประกอบที่จําเปนของ
                   ความสําเร็จในการแขงขัน   ดังนั้น ในปจจุบัน  บริษัทจํานวนมากมีการจัดการลอจิสติกส  ใหเปน

                   เสมือนหนึ่งอาวุธทางการตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายและกําไร


                                                 การบัญชีเพื่อลอจิสติกส
                                               (Distribution Accounting)


                          ลอจิสติกสแบบผสมผสานเปนพื้นฐานในการวิเคราะหตนทุนทั้งหมด      (Total Cost
                   Analysis) โดยกําหนดระดับการบริการลูกคาระดับไวหนึ่ง  และพยายามทําใหตนทุนทั้งหมดของ

                   กิจกรรมการจัดการลอจิสติกสทั้ง 14 กิจกรรมต่ําสุด

                          ตามธรรมดาสมุหบัญชีจะไมเก็บเอกสารที่เกี่ยวของกับการพัฒนาลอจิสติกส เปนการเฉพาะ
                   ทําใหตนทุนที่จําเปนของลอจิสติกสไมไดรับการยอมรับและทําใหเกิดชองวางของขอมูลในการที่
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51