Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
37
อยางคาดวาจะเกิดขึ้น ซึ่งจะสงผลกระทบตอองคกรรวมถึงการจัดการลอจิสติกสระหวางประเทศ
หรือบริษัทที่มีความสัมพันธระหวางประเทศดวย ดังนี้
1. การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูบริหารการจัดการลอจิสติกสในการรับผิดชอบและ
อํานาจหนาที่ระหวางประเทศ
2. การขยายของจํานวนและขนาดของเขตการคาตางประเทศ (Foreign Trade
Zones)
3. การลดลงในจํานวนและการเพิ่มมาตรฐานของงานดานเอกสารระหวางประเทศ
โดยเฉพาะใบตราสงสินคา (Bill of Lading)
4. การเพิ่มขึ้นของอรรถประโยชนของคลังสินคาตางประเทศทั้งที่เปนขององคกร
เอง และของผูสงออก
5. การเพิ่มขึ้นของขนาดองคกรขนาดใหญขึ้นในการสงออกดวยรูปแบบของการ
ไดรับสิทธิในการผลิต การรวมทุน หรือการลงทุนเองในตางประเทศสูตลาดตางประเทศ
6. ในตลาดตางประเทศโดยเฉพาะอเมริกา มีแนวโนมของการลงทุนของตางชาติ
เพิ่มขึ้นในองคกรที่เกี่ยวของกับ การบริการการจัดการลอจิสติกส เชน คลังสินคาสาธารณะและผูสง
ของ (Carrier)
7. การเพิ่มขึ้นของการรวมชองทางการจําหนายในแนวตั้ง (Vertical Integration of
Channel of Distribution) รวมถึงสมาชิกในชองทางจากประเทศตาง ๆ จํานวนมาก (โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งในการรองขอแหลงผูขายตางประเทศ เพื่อความแนใจในดานวัตถุดิบ)
ขณะที่องคกรไดชี้ถึงตลาดผูบริโภคในตางประเทศ องคกรเองตองสรางระบบการจัดการ
ลอจิสติกสที่สามารถจัดสรรผลิตภัณฑและบริการเพื่อสนองอุปสงคใหได การพัฒนาที่มีความสําคัญ
มากที่สุดในระบบการจัดลอจิสติกสระหวาง ประเทศ คือการเพิ่มความสลับซับซอน และความ
ชํานาญของผูบริการและการจัดการลอจิสติกสทั่วโลก
พันธมิตรและหุนสวนเชิงกลยุทธ
(Strategic Alliances and Partnerships)
ระหวาง ค.ศ. 1980-1990 องคกรจํานวนมากเริ่มอยูในวั ฏจักรธุรกิจขั้นถดถอย (Recession
Stage) ถาการพัฒนาพันธมิตรและหุนสวนเชิงกลยุทธกับผูรับชวง (Logistics Service Providers) ได
ก็จะทําใหเกิดสถานการณการคนหาวาจะ “ทําหรือซื้อ” (Make or Buy) สําหรับการตัดสินใจใน
ลอจิสติกสมากกวาการผลิต ขณะที่บริษัทเผชิญหนากับแรงกดดันดานการแขงขัน งบประมาณจํากัด