Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  29


                          ในองคกรสวนใหญ การจัดการลอจิสติกส เปนขอบเขตของการใหคํามั่นที่มากที่สุดในการ

                    ยอมรับการประหยัดตนทุน และการประหยัดตนทุนสามารถสงผลกระทบที่ยิ่งใหญตอ

                    ความสามารถในการทํากําไรกวาการเพิ่มยอดขาย สมมุติวากําไรสุทธิตอยอดขาย (บาท) = รอยละ
                    5  ดังตารางที่ 2-2

                          จากตารางสมมุติใหยอดขายเพิ่มขึ้น  1 บาท กําไรสุทธิที่ไดรับจากการประหยัดตนทุน

                   ลอจิสติกสเทากับ 0.5 บาท ณ ระดับเล็กๆ จํานวนนี้ดูเหมือนจะไมมีนัยสําคัญ แตอัตราสวน นี้จะเปน

                   ปจจัยที่สําคัญถาเทียบกับยอดขาย ที่เพิ่มขึ้นจํานวนมหาศาล  เชน ถายอดขายเทากับ  1 พันลานบาท

                   การประหยัดรอยละ  5 ถาเทากับเงิน 50 ลานบาท ในกรณีนี้สามารถตั้งแนวความคิดนี้เปนกฎได วา
                   “ทุกๆ ตนทุนลอจิสติกสที่ลดลง กําไรก็จะเพิ่มขึ้นในจํานวนเทากัน”



                    ตาราง 2-2 กําไรสุทธิที่ไดรับจากการประหยัดตนทุนลอจิสติกสลงรอยละ 5 จากยอดขายที่เพิ่มขึ้น


                               ยอดขายที่เพิ่มขึ้น(บาท)              กําไรสุทธิที่ไดรับจากการประหยัดตนทุน

                                                                 ลอจิสติกสรอยละ 5 จากยอดขายที่เพิ่มขึ้น (บาท)

                                                     1.00                                           0.05
                                                  100.00                                            5.00

                                             10,000.00                                          500.00

                                           100,000.00                                        5,000.00
                                        1,000,000.00                                       50,000.00



                          ระหวาง ค.ศ. 1960-1970  องคกรผลิตอุปกรณเครื่องใชไฟฟาขนาดใหญคนพบวา กิจกรรม

                   ของลอจิสติกสสามารถผสมผสานภายใตการจัดการลอจิสติกสเชิงเดี่ยวแบบพิเศษได  อยางไรก็ตาม
                   ควรกระจายไปตลอดทั่ว ทั้งองคกร  องคประกอบของการจัดการลอจิสติกสบางอยางอยูภายใต ฝาย

                   ผลิต บางอยางอยูภายใน ฝายการตลาด และบางอยางอยูใน ฝายการเงิน   นอกจากนั้นยังคนพบวา

                   บริษัทจายเงินเกือบ  ๆ  20  ลานดอลลาร  ในกิจกรรมลอจิสติกส ซึ่งยัง ไมมีใครจัดการใหเปน
                   ศูนยกลาง ดังนั้น  องคกรจึงตองกําหนดตําแหนงผูบริหารระดับอาวุโสและฝายกระจายตัวสินคา กิจ

                   กรรมลอจิสติกสทั้งหมด  รวมถึงการเพิ่มความใสใจในการจัดการกิจกรรมการจัดการลอจิสติกส

                                                                      1
                   สงผลใหเกิดการประหยัดตนทุนไดประมาณ 10 ลานดอลลาร / ระหวางปแรกของการปรับปรุง แตง
                   เติมรูปแบบ กอใหเกิดการประหยัดเปนผลกระทบที่มีขนาดใ หญพอควรตอความสามารถในการทํา

                   กําไร  คือ ตนทุนลอจิสติกส มิไดสงผลตอยอดขายในสัดสวนเดียวกัน เหมือนกับตนทุ นของลอจิ

                   สติกสกับกําไร  เนื่องจากมีปจจัยอื่นที่เขามามีอิทธิพลตอยอดขายดวย   เชน อัตราการเติบโตของ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47