Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  27


                   พัฒนาและขยายการแขงขันไปทั่วโลก  องคกรที่เพิ่มการใชคอมพิวเตอรและซอฟแวรมากขึ้น   จะ

                   เปนองคกรระหวางประเทศมากขึ้น  เปนการเพิ่มในตางประเทศในรูปแบบของการแสวงหาแหลง

                   ใหมของวัตถุดิบ  ชิ้นสวนประกอบ อะ ไหลและแรงงาน บริษัทเจาะตลาดใหมทั่วโลก เชน  อเมริกา
                   สนใจโอกาสทางการตลาดในหลาย  ๆ  ประเทศของทวีปเอเซียและยุโรปตะวันออก  ในการผลิต

                   รถยนต เครื่องไฟฟา  และคอมพิวเตอร   ใน ค.ศ. 1970  –  1980  สวนในจีน    สหภาพโซเวียต

                   ยูโกสลาเวีย เชคโกสโล วาเกียในคศ. 1980-1990  นอกจากจะใชเปนฐานโรงงานผลิตแ ลว ยังเปน

                   ตลาดใหมของอเมริกาสําหรับสินคาและบริการที่หลากหลาย  ดวยองคกรการคาทั่วโลกทราบถึง
                   ความตองการที่จะแสวง หาแหลงผลิตและตลาดใหม  ๆ มากขึ้น เพราะบริษัทคนพบวาการตลาด

                   ระหวางประเทศมีอัตราการเจริญเติบโตและปริมาณยอดขายที่เพิ่มขึ้นกวาตลาดภายในประเทศ


                                        ปจจัยในการพัฒนาการจัดการลอจิสติกส


                    ( Factors Underlying the Development of  Interest in Logistics Management )



                          ปจจัยที่สําคัญที่สุดในการใหความสนใจในการจัดการลอจิสติกส มีหลายปจจัย ไดแก
                                 1.  ความกาวหนาในเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคนิคเชิงปริมาณ

                                 2.  การพัฒนาของวิธีการเชิงระบบและแนวความคิดการวิเคราะหตนทุน

                                 3. บทบาทของการจัดการลอจิสติกสในโครงการบริการลูกคาขององคกร
                                 4. การลดลงของกําไรขององคกรจํานวนมากเพราะความลมเหลวในการตรวจสอบ

                   การเพิ่มขึ้นของกําไร อาจจะเปนผลมาจากประสิทธิภาพของการจัดการลอจิสติกส

                                 5. เงื่อนไขทางเศรษฐกิจผิดปกติตั้งแต ค.ศ. 1950 –1960 และการยอมรับวาการ

                   จัดการการ  กระจายตัวสินคาสามารถชวยสรางผลประโยชนในการแขงขันในตลาดได

                          มีปจจัยอิสระจํานวนมากใน การดําเนินงานที่นําไปสูความสนใจในการจัดการการ กระจาย

                   ตัว   สินคา เนื่องจากการยอมรับถึงผลกระทบของตนทุน  และการบริการของกระบวนการการ

                   จัดการลอจิสติกสเปนขั้นตอนที่สําคัญอยางหนึ่ง เชน ตนทุนการจัดการลอจิสติกสเ ปรียบเทียบกับ

                   ยอดขายที่เปนจํานวนเงินได สําหรับอุตสาหกรรมบางประเภท  ผลกระทบสามารถที่จะประกาศให
                   ทราบทั่วกันไดวา  ตนทุนการจัดการ ลอจิสติกสเปรียบเทียบเปนรอยละของมูลคาของผลิตภัณฑ

                   สําหรับผูผลิตสินคาไมคงทน  (เชน เคมีภัณฑ  ,  น้ํามัน )   จะมากกวาสินคาที่คงทน   สมมติวา

                                                                        1
                   ผลิตภัณฑที่มีความคงทนชิ้นหนึ่งมียอดขาย  20,000  ดอลลาร /  สวนผลิตภัณฑคงทนมียอดขาย
                   10,000  ดอลลาร    คาใชจายในการจัดการการกระจายสินคา  สําหรับสินคาคงทน และไมคงทน

                   เทากับ  1,000 และ 1,250  ดอลลารตามลําดับ  จะเห็นวาบริษัทผลิตสินคาคงทนมีตนทุ นต่ํากวา เมื่อ


                     1 / Lambert และคณะ หนา 24
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45