Page 35 -
P. 35

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  22


                          นอกจากนี้ ผูบริโภคจะมีอุปสงคในสินคาความหลากหลายเพิ่ มขึ้น ผลิตภัณฑจะเพิ่มขึ้นจาก

                   ไมกี่พันชิ้นเปนหลายหมื่นชิ้นใน รานสรรพาหาร (Supermarket) ที่ใหญขึ้น  มีการนําเสนอรถยนตที่

                   หลากหลายมากขึ้นในสี ขนาดและประเภทของเครื่องยนต ขนาดของรถยนต แนวโนมนี้จะเกิดขึ้น
                   คลาย ๆ กันในเกือบทุกสินคาและอุตสาหกรรม  ความหลากหลายของสินคาและบริการหมายถึง

                   ตนทุนในการผลิตและตนทุนการ ถือครองสินคาที่สูงขึ้นดวย ถาสินคาหนึ่งมีการวางขายเพิ่มขึ้น  3

                   เทา เพื่อตอบสนอง อุปสงคจํานวนเทาเดิม ระดับของสินคาคง คลังสําหรับผลิตภัณฑทุกชนิดก็นาจะ

                   เพิ่มมากกวา รอยละ 60


                         สุดทาย  รูปแบบของลอจิสติกสจะเริ่มเปลี่ยนแปลงดวยตัวของมันเองเพื่อตอบสนองตอการ
                   เปลี่ยนแปลงของการคาปลีก เชน จํานวนสินคาคง คลังในรานขายยา จะสอดคลองกับระดับสินคา

                   คงคลังของศูนยกระจายสินคา (Distribution Center) ของผูผลิตหรือผูเสนอขายสินคา (Supplier) ใน

                   สภาพตลาดที่มีการแขงขันรุนแรง ทําใหผูผลิตและผูเสนอขายสินคาตองมีระดับสินคาคงคลังสูงขึ้น
                   เพื่อจะไดจัดสงสินคาไดทันทีหรือเร็วที่สุดเทาที่รานขายยาสั่งซื้อ ทําใหตนทุนของผูผลิตและผู เสนอ

                   ขายสินคาสูงขึ้น

                          2. ความกดดันดานตนทุนในอุตสาหกรรม  บรรยากาศของเศรษฐกิจทั่ว  ๆ ไปใน คศ.1950-

                   1970 จะสงเสริมใหมีความสนใจในการจัดการลอจิสติกสมากขึ้น โดยสาระนั้นเกิดขึ้นจากความ
                   เจริญหลังสงครามโลกครั้งที่  2  จากสภาพเศรษฐกิจตกต่ําจากสงคราม และเปนระยะของการสราง

                   กําไรในระยะยาวมากขึ้น ระยะเวลาของเศรษฐกิจตกต่ํานั้น สงผลตอการจัดการเพื่อการแ  สวงหา

                   แนวทางของการปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิต       แนวความคิดสมัยใหมของลอจิสติกส จึง
                   เกิดขึ้น ณ ชวงเวลาจากความขัดแยงที่เกิดขึ้น  ในองคกรจํานวนมากที่สุดที่ถูกตรวจสอบมาหลายป

                   โดยนักวิศวอุตสาหกรรม กิจกรรมของการขายและการสงเสริมการตลาดจะมิไดรับประโยชน มาก

                   เทาที่ควรจากความพยายามในการปรับปรุงประสิทธิภาพของการผลิตมากนัก สวนการจัดการ
                   ลอจิสติกสเปนการเผชิญหนากับการลดตนทุนในธุรกิจของอเมริกาที่ไดรับความสนใจครั้งลาสุด

                              สิ่งที่ทําใหการจัดการลอจิสติกสมีบทบาทที่เดนชัดขึ้น เริ่มจากตนทุนของการจัดการ

                   ลอจิสติกสเพิ่มมากขึ้น ในชวงประมาณ คศ .  1960  ยังมีองคกรจํานวนนอยมีความคิดที่ชัดเจน

                   เกี่ยวกับตนทุนของการจัดการลอจิสติกส ผลที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดนี้แสดงใหเห็นวาตนทุนการ

                   จัดการลอจิสติกสเปนเรื่องที่สามารถทําใหเกิดความประหลาดใจได  กลาวคือ ถาพิจารณาสภาพ
                   เศรษฐกิจใ นภาพรวม ตนทุนการจัดการลอจิสติกสควรจะประมาณรอยละ      15  ของผลิตภัณฑ

                   ประชาชาติเบื้องตน(มูลคาของสินคาและบริการทั้งหมด)  ถาตัดมูลคาของบริการออกจากผลิตภัณฑ

                   ประชาชาติเบื้องตนออก ก็จะเหลือเปนมูลคาของสินคา เรียกวาผลิตภัณฑประชาชาติที่จับตองได ซึ่ง
                   จะสามารถประมาณคา ของตนทุนของการจัดการลอจิสติกสไดทันที  ในอเมริกา  ตนทุนของการ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40