Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  19


                          จากภาพจะเห็นวาความขัดแยงในวัตถุประสงคทั้ง  3 ฝาย เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบที่

                   แตกตางกันในแตละฝาย กลาวคือฝายการตลาดตองการขายสินคาใหไดจํานวนมากที่สุด และ

                   ตอบสนองความตองการของผูบริโภคใหไดมากที่สุ ด เร็วที่สุดเพื่อสรางขอไดเปรียบในการแขงขัน
                   ซึ่งจะทําใหเกิดปญหาขึ้นแกฝายการเงินและการบัญชี และฝายการผลิต เนื่องจากถากระทําเพื่อ

                   ตอบสนองตอฝายการตลาดดังกลาว ก็จะทําใหตองลงทุนเพิ่มขึ้น ตนทุนในการขายเพิ่มขึ้น และ

                   ตนทุนการดําเนินงานก็สูงขึ้นทําใหฝายก ารเงินตองจัดหาเงินทุนเพิ่มขึ้น ทําใหตนทุนของเงินทุน

                   เพิ่มขึ้น สวนฝายการผลิตก็จะเกิดปญหาขึ้น ในเรื่องของการผลิตสินคาที่หลากหลายในจํานวนนอย
                   ทําใหเกิดปญหาในการวางแผนและจัดตารางการผลิต ตลอดจนการจัดหาวัตถุดิบ รวมถึงทักษะใน

                   การผลิต ฝายบัญชีก็จะมีรายการทางบั ญชีแยกฝายเพิ่มขึ้นทํา ใหตองจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร หรือ

                   อุปกรณตางๆเขาชวย ผลในภาพรวมที่เกิดขึ้นคือตนทุนรวมสูงขึ้น กําไรรวมขององคกรลดลง


                          อยางไรก็ตามมีบางสิ่งบางอยางเริ่มเกิดขึ้น นักศึกษาที่ไดรับทุนทางการตลาดและนักธุรกิจ
                   เชน อารช ชอว (Arch Shaw : 1912)และ เฟรด คลารค ( Fred Clark)  ไดศึกษาและใหคําจํากัดความ

                   ของ ของลอจิสติกส ( Physical Distribution) วาหมายรวมถึงความแตกตางระหวางการสรางอุปสงค

                   ของตลาดวาดวยกิจกรรมการสงบํารุงทางทหารในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนการประยุกตใช
                   ทฤษฎีนี้ครั้งแรกอย างไดผล และยังนํามาเปนแนวความคิดในการจัดการลอจิสติกส   รวมทั้ง

                   ประยุกตใชในธุรกิจตางๆใน ปจจุบันอยางมากมาย แตการประยุกตใชกิจกรรมการสงกําลังบํารุง

                   ทางทหารก็ยังไมสามารถมีอิทธิพลตอลอจิสติกสในธุรกิจขณะนั้นได  จนกระทั่งตอมาในค .ศ. 1945
                   นักธุรกิจบางคนดําเนินการเปลี่ยนแปลงใหการขนสงและการคลังสินคาของสินคาสําเร็จรูปใหอยู

                   ภายใตการดูแลของผูจัดการเพียงคนเดียว เชน อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน ซึ่งบางคนอาจจะเขาใจ

                   สับสนวากิจกรรมลอจิสติกสนั้นจะทําโดยองคกรเจาของสินคาเอง ไมสามารถจางองคกรอื่น   ๆ
                   กระทําแทนได  ซึ่งเปนความเขาใจผิด    ลอจิสติกสจํานวนมากไดรับการปรับปรุง  โดยองคกรอื่น ๆ

                   ที่มิใชผูผลิตพยายามจัดกิจกรรมตาง  ๆ ใหรวมกันเปนกลุมใหญ แลวเปดบริการตามกลุมกิจกรรม

                   นั้นๆ แกองคกรที่เปนผูผลิต  กอน ค .ศ. 1950 มีองคกรจํานวนหนึ่งไดรับผลประโยชนอยางเ ห็นได

                   ชัด จากการจัดกลุมและใหบริการเกี่ยวกับกิจกรรมของลอจิสติกสใหม  ซึ่งเปนที่นาสนใจใน
                   การศึกษาถึงสาเหตุของผลประโยชนที่เพิ่มขึ้นนี้

                          มองยอนกลับไปศึกษาถึงสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและทฤษฎีที่ยังไม       ถูกตองนัก

                   เกี่ยวกับการสรางสรรบรรยากาศที่จําเ ปนเพื่อการเปลี่ยนทัศนคติและกิจกรรม ในหนาที่ของฝาย

                   การตลาดวามีความสําคัญมากขึ้นเทียบเทากับงานดานการจัดการและการผลิต เนื่องจาก
                   แนวความคิดทางดานการตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป  จากการผลิตสินคาแตเพียงอยางเดียวเพื่อ

                   ตอบสนองความตองการของผูบริโภคทุกคน  มาเปนการเปลี่ยนแปลงใ     หผลิตสินคาเขากับการ

                   เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในแตละชวงจากการเกิดสินคาขาดแคลน ในอุตสาหกรรมหนึ่งไปสูกําลังการ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37