Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  21


                   ผกผันกัน เมื่อทําใหตนทุนอยางหนึ่งลดลงต่ําสุด ก็จะทําใหตนทุนอีกอยางหนึ่งเพิ่มขึ้น  ได เชน

                   ตนทุนในการขนสงสินคา มีความสัมพันธผกผันกับตนทุนในการเก็บรักษาสินคา เปนตน กลาวคือ

                   เมื่อตองการประหยัดตนทุนในการขนสง ตองขนสินคาเปนปริมาณมา  กในแตละครั้ง ซึ่งจะตอง
                   นํามาเก็บรักษาไวในคลังสินคา ก็จะทําใหตนทุนคาเก็บรักษาสูงขึ้น ดังนั้น ในแนวความคิดของ

                   ตนทุนทั้งหมด จึงมุงเนนใหตนทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นเมื่อรวมกันแลวต่ําสุด โดยการจําลอง

                   สถานการณในการจัดการหลายสถานการณ ซึ่งแตละสถานการณ ก็จะเกิ ดตนทุนของการจัดการ

                   แตกตางกัน  แลวจึงนําตนทุนทั้งหมดของแตละสถานการณมาเปรียบเทียบกัน ในที่สุด ก็จะเลือก
                   การจัดการในสถานการณที่ตนทุนทั้งหมดต่ําสุด   ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการเจรจาตอรองในการจัด

                   กลุมของกิจกรรม   ลอจิสติกสใหหลากหลายรูปแบบ (Option)  และนําเสนอตอลูกคา ผูที่ทําหนาที่

                   ในลอจิสติกสจะตองอธิบายถึงการจัดปรับปรุงโครงสรางขององคกร    (Reorganization)  ให
                   สอดคลองกับกิจกรรมของลอจิสติกสที่จะตองเกิดขึ้นในองคกรที่ตองการความทันสมัย   แนว

                   ความคิดที่เกี่ยวกับตนทุนทั้งหมดเปนหลักการที่สําคัญอยางหนึ่งสําหรับลอจิส  ติกส  และ

                   แนวความคิดนี้ จะไดรับการพัฒนามากขึ้นในอนาคตตอไป

                          เงื่อนไขดานเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเปนสิ่งที่สงเสริมใหมีการพัฒนาลอจิสติกสมากขึ้น
                   เงื่อนไขที่สําคัญ 3 ประการมีดังนี้

                                 1.  การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอุปสงคและทัศนคติของผูบริโภค (Shifts in

                   Consumer Demand Patterns and Attitudes)
                                 2.  ความกดดันดานตนทุนในอุตสาหกรรม (Cost Pressure Industry)

                                 3.  ความกาวหนาในเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ( Advancement of  Computer

                   Technology)

                          จากเงื่อนไขเศรษฐกิจและเทคโนโลยีดังกลาวขางตน สามารถจะอธิบายได ดังนี้
                                   1. การเปลี่ยนแปลง รูปแบบของอุปสงคและ ทัศนคติของผูบริโภค  ในอเมริกา ทุกๆ  10 ป จะมี

                    การสํารวจประชากรใหม  ผลที่ออกมาอาจจะไมเพียงแคแกปญหาแตเพียงปญหาเดียว  แตการ

                    เปลี่ยนแปลงดานประชากรศาสตรในเชิงสถิติในรอบระยะเวลา  10  ป ที่เปดเผยนั้นจะแสดงใหเห็นถึง

                    ความแตกตางที่สงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนลอจิสติกส เชน การเคลื่อนยายของประชากรจากชนบท
                    มาสูเมืองหลวง  เปนตัวอยางของหนึ่งที่ชี้ใหเห็นถึงการลดลงของลอจิสติกสสูชนบท  แตเพิ่มลอจิสติกส

                    ในเมืองหลวงมากขึ้น ในเวลาเดียวกัน ประชากรจะอพยพจากเมืองชั้นในสูชานเมือง พ อคาปลีกจะตอง

                    ติดตามประชากรสูชานเมืองดวยการเพิ่มรานคาปลีกใหมากขึ้น บริการในเขตเมืองหลวงมากขึ้นดวยการ

                    สงมอบเร็วขึ้น และจํานวนสินคาคง คลังทั้งหมดสูงขึ้น เพื่อตอบสนองความตองการของการเพิ่มขึ้นใน
                    จํานวนรานคาปลีกในชานเมือง  ทําใหตนทุนของลอจิสติกสเพิ่มขึ้ นการอพยพยายถิ่นของประชากร

                    เพิ่มขึ้น
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39