Page 39 -
P. 39
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
26
ผลผลิตใน ลอจิสติกส (Measuring Productivity in Logistics) การศึกษานี้ไดสงผลตอการสราง
ความชํานาญในการจัดการลอจิสติกสมากขึ้น
สรุป ชวงที่ 2 เปนจุดเริ่มตนการตั้งทฤษฏีที่เกี่ยวของกับลอจิสติกส โดยประยุกตความรู
ในเชิงคณิตศาสตร จิตศาสตร สังคมศาสตร รวมกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
ชวงที่ 3 ตั้งแต ค.ศ. 1970 – ปจจุบัน
เริ่มในชวงปลาย ค.ศ. 1970-1980 และตอเนื่องมาจน ค.ศ. 1980 –1990 การจัดการ
ลอจิสติกส ไดสงผลกระทบออกมาเปนรูปธรรมขึ้น ในสหรัฐอเมริกา โดยการลดกฎขอบังคับของ
อุตสาหกรรมการขนสง กฎหมายวาดวยการลดลงของกฎขอบังคับในสายการบินใน ค.ศ. 1977 และ
1978 ( The Airline Deregulation) และกฎหมายวาดวยการสงของ (Shipping Act ) ใน ค.ศ. 1984
ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับปรุงโดยการ ใชทฤษฎีทางดานเศรษฐศาสตรมาประยุกตใช
สําหรับการขนสงทางเครื่องบิน รถไฟ รถยนต การขนสงทางทะเล ทําใหสงผลกระทบตอผู กระจาย
ตัวสินคา (Distributor) และผูสงของ (Carrier ) หลายประการ เชนในกรณีของผูกระจายตัวสินคา
การลดลงของกฎขอบังคับสงผลในการเพิ่มการแขงขัน และการมีอิสระในการตั้ง คาระวางเพิ่มขึ้น
เชน การตั้งและการปรับปรุงอัตราคาขนสง มีความยืดหยุนมากขึ้นในเสนทางการขนสงและตาราง
การขนสง ความตองการ ที่เพิ่มขึ้นนําไปสูแนวความคิดทางการตลาดและความตองการเพื่อการ
สรางสรรในรูปแบบใหมๆ ของการนําเสนอสวนประสมทางการตลาดตอลูกคา การเพิ่มจํานวนผู
กระจายตัวสินคาทําใหลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้น รูปแบบใหม ๆ และความหลากหลายของบริการเปน
สิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นและไดรับการยอมรับกัน บาง ในปจจุบันอัตราคาขนสงและรูปแบบ ของการขนสง
สวนใหญเกิดจากการ เจรจาตอรองและการตกลงทําสัญญากันในระยะยาว ระดับการบริการที่ผู
กระจายตัวสินคาเสนอมีความหลากหลายมากขึ้น โดยขึ้นอยูกับจุดเริ่มตนและจุดหมายปลายทาง
เทคโนโลยีของคอมพิวเตอรและซอฟทแวรที่จําหนายอยูเปนปจจัยอื่นๆ อีก 2 ประการ ที่เปนสาเหตุ
ใหธุรกิจกลับมาใหความสนใจเพิ่มขึ้นในการจัดการลอจิสติกส การพัฒนาเทคโนโลยีของ
คอมพิวเตอร โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร ไดทําใหเกิดการจัดการลอจิสติกสแบบพิเศษ มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น องคกรสามารถกลับมาใหความสนใจตอประสิทธิผลของ
ตนทุนเพิ่มขึ้น เพราะความเร็วและความแมนยําของคอมพิวเตอร สามารถใชเทคนิคที่ซับซอน (เชน
MRP I, MRP II, MRP III, DRP I, DRP II, Kanban และ Just–in –Time ) เพื่อจัดการและควบคุม
กิจกรรมตางๆ เชน ตารางการผลิต การควบคุม ปริมาณและประเภท สินคาคงคลัง กระบวนการ
สั่งซื้อ และ อื่นๆ เปนตน ความกาวหนาและผลที่เกิดขึ้นกระทบตอการตลาด การผลิต และการเงิน
ขององคกร ถือเปนเครื่องมือในการสรางสรรการจัดการสินคาในเชิงระมัดระวัง มากขึ้น การใช
คอมพิวเตอรและซอฟแวรเริ่มใน ค .ศ. 1970 - 1980 และเพิ่มขึ้นเรื่อยมาจน ค .ศ. 1990-2000 ได