Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  28


                   เปรียบเทียบกับรอยละของมูลคาสินคาหรือยอดขายแลว จะเห็นวาสินคาคงทนจายเพียงรอยละ   5

                   ของยอดขาย ในขณะที่สินคาไมคงทนตอง จายถึงรอยละ 12.5

                          เมื่อพิจารณาถึงคาใชจายของการจัดการลอจิสติกสขององคกร  กําไรที่ไดเพิ่มขึ้นและ

                   ความสามารถในการทํากําไรเปนผลจากการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบการจัดการลอจิสติกส ทําให
                   หลายองคกรหันมาพัฒนาและใหความสนใจในการจัดการลอจิสติกสเพิ่มขึ้น  ระหวาง คศ . 1970 –

                   1980 และ 1980 –1998  องคกรจํานวนมากคนพบวาเปนการยากที่จะเพิ่มหรือรักษาระดับกําไรและ

                   อัตราการเจริญเติบโต  เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการแขงขันทั้งในและตางประเทศ ตลาดที่อิ่มตัว

                   กฎระเบียบของรัฐบาลตาง ๆ ที่เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนแปลงไป และอื่น ๆ เปนตน
                          องคกรสามารถสรางกําไร (Profit squeeze) จากกลยุทธพื้นฐาน 3 ประการ ดังตอไปนี้

                                 1.   เพิ่มปริมาณยอดขาย โดยการเพิ่มความพยายา มทางการตลาด สําหรับองคกร

                   จํานวนมาก อาจจะเปนการยากและมีตนทุน เพิ่มเกิดขึ้น  สวนเพิ่มของยอดขายที่เพิ่มขึ้นในตลาดที่
                   อิ่มตัว หรือตลาดที่มีการแขงขันสูงอาจ เกิดขึ้นได ยาก ในตลาดที่มีการเจริญเติบโตชา อัตราการ

                   เติบโตอาจจะนอยกวาความตองการขององคกรที่จะเพิ่มยอดข าย ถึงแมในสถานการณที่ตลาดมี

                   อัตราการเจริญเติบโตสูง องคกรอาจจะไมสามารถเพิ่มยอดขายได เพราะปญหาการขาดแคลน
                   ทรัพยากรวัตถุดิบ การแขงขันและเงื่อนไขทางการตลาดอื่น ๆ

                                 2.   เพิ่มราคา ซึ่งก็อาจจะเปนไปไมไดที่จะทําใหสอดคลองกับเงื่อนไขของตลาด

                   ขึ้นอยูกับความยืดหยุนของอุปสงคของราคา ราคาที่เพิ่มขึ้นอาจจะไมกระทบตอยอดขายก็ได
                   ตามปกติองคกรไมขึ้นราคาจนกวาตนทุนวัตถุดิบ การผลิต หรือคาแรงงานที่เพิ่มขึ้นไมสามารถหยุด

                   ยั้งได

                                 3.  ลดตนทุน ของการประกอบธุรกิจ ซึ่งเปนสิ่งที่ธุรกิจสวนใหญนิยมทํา


                          ขณะที่องคกรมอง ปจจัยภายในเรื่องขอบเขตในการประหยัดตนทุน และ /หรือเพิ่มขึ้นใน

                   ผลผลิต ในขอบเขตพื้นฐาน  3 ประการของการดําเนินงานขององคกร ไดแกการผลิต การตลาดและ

                   การจัดการลอจิสติกส   บริษัทจํานวนมากคนพบวา มันเปนการยากที่จะลดตนทุนในการผลิตและ
                   การตลาด อยางไรก็ตาม องคกรจํานวนมากที่มีสัญญาในการผลิต ใหมีประสิทธิภาพและใชเทคนิค

                   การผลิตขั้นสูง  ตนทุนสวนเพิ่ม ก็สูงขึ้นดวย มีอุตสาหกรรมบางประเภทที่มีประสิทธิภาพในการ

                   ผลิตที่สามารถระบุได กําลังไดรับการยอมรับ แตไมใชในทุกกรณี อยางไรก็ตามองคกรจํานวนมาก

                   ไมเต็มใจที่จะลด กิจกรรมทางการตลาด โดยเฉพาะการโฆษณา ความกลัวในปฏิกิริยาตรงขามใน
                   ตลาด  บริษัทที่ผลิตสินคาอุปโภคบริโภคที่มีการแขงขันสูง (เชน พรอคเตอร แอนด แกมเบิล  ลีเวอร

                   บราเธอร  เยนเนอรัล มอเตอร   ฟอรด  แมคโดนัล  และเบอรเกอรคิง  )  ลังเลที่จะลดคาใชจายทาง

                   การตลาดลง ในความจริง  กลับเพิ่มขนาดของคาใชจายทางการตลาดในแตละปดวยซ้ําไป
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46