Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  25


                          การวัดตนทุนการจัดการลอจิสติกสในรูปรอยละของยอดขายจะกอประโยชนอยางมาก

                   เนื่องจากการจัดการลอจิสติกสทําใหเกิดมูลคาเพิ่ม  (Value added)  ใหแกสินคาและบริการ  โดย
                   พิจารณาจากความแตกตางระหวางราคาขายและตนทุนในการจัดซื้อสินคา ตนทุนใน   การจัดซื้อ

                   สินคานี้ตามปกติจะกําหนดใหเปนตนทุนที่ควบคุมไดขององคกร ในทางปฏิบัติการกําหนดตนทุน
                   ในการจัดซื้อ  และมูลคาเพิ่มจะกําหนดเปนรอยละของราคาขาย ตามปกติแลวตนทุนใน ลอจิสติกส

                   จะแตกตางกันตามองคกรและอุตสาหกรรม โดยเปนรอยละประมาณดังตอไปนี้


                          ปโตรเลียมรอยละ 43  เคมีรอยละ 39 อาหารรอยละ 36  กระดาษรอยละ 30 รถยนตรอยละ
                   20 สิ่งทอรอยละ  18 ยารอยละ 16 เครื่องจักรรอยละ  12  ยางรอยละ  11  เครื่องใชไฟฟารอยละ  10

                   เฟอรนิเจอร  ยาสูบรอยละ 8 เฉลี่ยทุกอุตสาหกรรมรอยละ  22.5

                          ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลที่เกิดขึ้นระหวาง ค.ศ. 1950-1960 อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูล

                   ของตนทุนลอจิสติกสแยกออกเปนกลุม พบวา ตนทุนลอจิสติกสเมื่อคิดเทียบกับรอยละจากยอดขาย
                   จากการศึกษา  3 กลุมสินคาอันประก อบดวยคาบริหารจัดการ  คาขนสง การถือครองสินคาการ

                   คลังสินคา การรับคืนและการสงของ การบรรจุภัณฑ การ จัดซื้อ กลุมที่  2 จะมากที่สุดถึงรอยละ
                   32.01 (อาหารและผลิตภัณฑอาหาร ) รองลงมาเปน 29.23 (โลหะ) ซึ่งเมื่อพิจารณาในรายละเอียดมี

                   เพียง   ตนทุนการบริหารจัดการ  คาขนสง การคลังสินคา และบรรจุภัณฑเทานั้น ยังขาดตนทุนการ
                   ถือครองสินคา การรับคืนและสงของ และกระบวนการสั่งซื้อ ซึ่งถารวมตนทุนที่ขาดไปนี้แลวก็จะ

                   ทําให   ตนทุนลอจิสติกสของสินคา  2 ประเภทนี้สูงขึ้นอีก ตรงกันขามกับสินคายาในกลุมที่  1 ที่มี
                   ตนทุนการกระจายสินคารวมแลวต่ําสุดเพียงแครอยละ 4.4 เทานั้นเอง ถึงแมจะมีตนทุนครบทุกอยาง

                   แลวก็ตาม (ตาราง 2-1)


                             3. ความกาวหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร   หลายปที่ผานมาปญหาของการจัดการ
                   ลอจิสติกสมีแนวโนมที่ซับซอนมากขึ้น มีรูปแบบของการขนสงและบริการมีใหเลือกมากขึ้ น  ซึ่ง

                   หมายถึงตองมีการจัดการผลิตภัณฑมากกวา  1 ชนิด รวมถึงอุปสงคของผูบริโภค ก็มีหลากหลาย
                   เพิ่มขึ้น ความซับซอนที่ เกิดขึ้นรวมถึงความตองการในการเพิ่มประสิทธิภาพ  ทําใหตองอาศัย

                   เทคโนโลยีใหมๆในการจัดการ  ความตองการนี้ชัดเจนมากในชวงกลาง        ทศวรรษที่  1950
                   คอมพิวเตอรเริ่มเขามามีบทบาทในองคกรและการจัดการลอจิสติกส   ในชวงเวลาเดียวกันกับการนํา

                   แบบจําลองขนาดคณิตศาสตรมาใชมากขึ้น  แบบจําลองนี้พัฒนาอยางรวดเร็ว เพื่อใชแกปญหาการ
                   จัดการลอจิสติกส เชน โปรแกรมเชิงเสน  (Linear Programming  )  ทฤษฎีการควบคุมสินคาคงคลัง

                   (Inventory Control Theory) ตอมาในคศ. 1976 ลาลอนด (Lalonde)  และ ซินสเซอร (Zinszer) ได
                   ตีพิมพการศึกษา เกี่ยวกับการบริการลูกคา ในสวนของวิธีการและการวัด  (Customer  Service  :

                   Meaning and Measurement ) อันเปนการอธิบายถึงรายละเอียดเปนครั้งแรกในหัวขอของการบริการ
                   ลูกคาในแนวความคิดทางการตลาด เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคที่ตองการความ

                   เขาใจเรื่องการบริการลูกคาสมบูรณ แบบ  2  ปตอมาใน คศ . 1978   บริษัท เอ.ที แครนีย (A.T.
                   Kearney Inc.)  ภายใตการสนับสนุนทางการเงินจากสถาบันการจัดการลอจิสติกส ไดตรวจส อบ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43