Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                  20


                   ผลิตที่เพียงพอในอีกอุตสาหกรรมหนึ่ง อันทําใหเกิดสภาพการแขงขันที่มากขึ้น หลังสงครามโลก

                   ครั้งที่ 2 สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจอ เมริกามีการเจริญเติบโตอยาง รวดเร็ว สวนหนึ่งเกิดจากอุป

                   สงคที่เพิ่มขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่  2 เพราะเศรษฐกิจตกต่ํา และจากสภาพแวดลอมทั่วไปของอม
                   ริกาที่มีจุดเดนในอุตสาหกรรมหลังสงครามโลกครั้งที่  2  ในตลาดโลก บรรยากาศที่เกิดขึ้นจึง

                   เอื้ออํานวยตอการขายและการผลิ ต (Selling and Producing)  กําไรที่ไดรับอยูในระดับดี ทําใหไม

                   สนใจตอการขาดประสิทธิภาพของ  ลอจิสติกส

                          กลาวโดยสรุป ในชวง 1 นี้ ไดมีการคิดคนวิธีการและทฤษฎีตางๆ  ที่เกี่ยวของกับการตลาด

                   และการจัดลอจิสติกส  เพื่อตอบสนองตออุปสงคที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากความสูญเสียจาก
                   สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีประเทศอเมริกาเปนผูนํา



                   ชวงที่ 2 ตั้งแต ค.ศ. 1950 – 1970 ระยะของการพัฒนา

                          ชวงเวลาตนๆ ของ ค .ศ. 1950-1970 จะเปนตัวแทนแหงปของการนําเอาภาคทฤษฎี และ
                   ภาคปฏิบัติของลอจิสติกสไปใชจริง  ในชวงเวลานี้เอื้ออํานวยใหเกิดแนวความคิดในลอจิสติกส

                   ใหมๆ แนวความคิ ดทางการตลาดที่ดีๆ จะเกิดขึ้นจากสถาบันการศึ กษาและองคการธุรกิจเปน

                   จํานวนมาก อยางไรก็ตามนักเรียนทุนทางการตลาดและการจัดการก็ยังไมพอใจกับแนวความคิด

                   ใหมๆ ที่เกิดขึ้นนี้มากนัก ดังนั้น พอล คอนเวิรส (Paul Converse) ซึ่งเปนศาสตราจารยทางการตลาด
                   ไดกลาวไวเมื่อ  คศ. 1954 วา ธุรกิจตองเสียคาใชจายในลอจิสติกสเปนจํานวนมากกวาคาใชจายใน

                   การขายและการตลาด ลอจิสติกสไดรับความสนใจและการปรับปรุงแตเพียงนอยนิด ตอมาปเตอร

                   ดรัคเกอร (Peter Drucker )  ที่ปรึกษาทางการจัดการที่เปนที่รูจั กกันอยางแพรหลายไดกลาวถึง
                   กิจกรรมของลอจิสติกสที่เกิดขึ้นหลังจาการผลิตสินคาวา “…เปนสิ่งที่ถูกละเลยที่นาเสียใจมากที่สุด

                   ในธุรกิจของอเมริกา…”  (The most sadly neglected , most promising areas of American business)

                   นอกจากนั้นยังมีนักวิชาการอีกเปนจํานวนมากที่มีความเห็นพองตองกันกับแนวความคิดทั้งสอง

                          อาจกลาวไดวา  นี่เปนจุดเริ่มตนของเหตุการณที่สําคัญในการนําไป สูการพัฒนาและการ
                   ตัดสินใจในบทบาทของการจัดการลอจิสติกสในเชิงธุรกิจ  โดยเริ่มใหความสนใจ ในคาระวางทาง

                   อากาศตอลอจิสติกส  การศึกษาไดมุงไปสูจุดของตนทุนการขนสงทางอากาศ  โดยมิไดคํา  นึงถึง

                   บริการที่เกิดขึ้นภายหลัง แตกุญแจสําคัญที่ยอมรับกันโดยทั่วไป คือ การพิจารณาคาระวาง  ทาง
                   อากาศในแนวคิดของตนทุนทั้งหมด  (Total Cost Concept)  และตนทุนที่ลดลงมากขึ้นในสินคาคง

                   คลัง  จากเวลาที่ใชในการขนสงทางอากาศที่รวดเร็ว จากแนวความคิดนี้ ทําใหเกิดรูปแบบ ที่สําคัญ

                   ขึ้น คือแนวความคิดที่เกี่ยวกับตนทุนทั้งหมด  (Total Cost Concept ) แทนแนวความคิดเดิมที่มุงเนน
                   ใหตนทุนแตละอยางต่ําสุด  ซึ่งในความเปนจริง ไมสามารถเปนไปได เนื่องจากความสัมพันธของ

                   ตนทุนของกิจกรรมตาง  ๆ ในการจัดการลอจิสติกสมีความสัมพันธกันทั้งแ บบคลอยตามกันและ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38