Page 108 -
P. 108

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                               สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค  101


                                               9.3.5.2  การสูญเสียสระ (Vowel Deletion)
                                                            ในการลดรูปพยางค CV!  นั้น เราสามารถพัฒนาจากขั้นลด

                           รูปหรือเปลี่ยนรูปสระมาเปนสูญเสียสระ ดังเชนตัวอยางตอไปนี้

                           (19)                saº!tiº!     >      saºtiº!             “สติ”

                                                            >      satiº!
                                                            >      s‹tiº!
                                                            >      sBti!

                                                            และในการสูญเสียสระนี้ พยัญชนะตนพยางคเปลี่ยนมาทํา
                           หนาที่เปนแกนของพยางคแทน เราสามารถเขียนแผนภูมิการเปลี่ยนแปลงไดดังนี้


                                                  σ   σ                   σ                   σ

                                            O         R      O   R      O   R          O      R


                                        N       Co    N     Co            N      Co           N          Co


                                          C        V       C  C  V  C  C  V      C     C


                                          s        a       !      t    i   !          s  a   !      s                        …


                                                                                 ø     ø      [sB]
                              ภาพที่ 9.6 แผนภูมิแสดงการสูญเสียสระและเปลี่ยนแกนพยางคจากคําวา  [saº!tiº!]  มาเปน  [sBti!]

                                        การลดรูปและการสูญเสียในลักษณะนี้อาจเกิดจากอิทธิพลภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะ
                          อยางยิ่งภาษาอังกฤษ ซึ่งมีโครงสรางพยางคที่มี st-cluster  ในตําแหนงตนพยางค โดยสามารถแยกเสียง [s]
                          เปนแกนของอีกพยางคหนึ่ง [sB]  แยกเสียงจาก [t] เชนในคําวา “steep” [sBtip]  การพัฒนาเสียงแและ

                           โครงสรางพยางคในลักษณะนี้ทําใหเรามีรูปแบบโครงสรางของพยางคเพิ่มขึ้นอีกรูปแบบหนึ่งคือ [sB] โดย

                          มีเสียงเสียดแทรกเปนแกนของพยางค [sBti!] และจัดเปนคํา 2 พยางค แตถาในการรับรูของเราถือวา [sti!]
                           เปนคําพยางคเดียวแลว เราก็มีโครงสรางพยางคเพิ่มอีกโครงสรางหนึ่งโดยมี st-cluster  เปนพยัญชนะควบ
                          กล้ําตนพยางค ดังนี้
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113