Page 103 -
P. 103

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                          96    สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                           บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค


                                 เปนที่นาสังเกตวา ถาเราจัดสวนทายพยางค (rime) ของคําวา “เรียว” เปนสระผสม 3 สวน เราจะ
                          ไดโครงสราง ดังนี้


                                                                                 R

                                                            N      Co


                                                                V        V  C

                                                                 i        a    u

                                        ซึ่งเมื่อเสียง u   เชื่อมโยงกับ C  ใน CV-tier  และจัดเปน Coda  ของพยางค ตําแหนง

                           พยัญชนะปดทายพยางคนี้ทําใหเสียงสระกลายเปนเสียงกึ่งสระ คือ  [w]   ฉะนั้นความแตกตางของ  [u]
                           และ  [w]  อยูที่วาเสียง [ +high , +back , + round , +sonorant ] นี้เชื่อมกับ Consonant ในตําแหนง Coda
                           หรือเชื่อมกับ Vowel ในตําแหนง Nucleus เทานั้น นี้เปนสาเหตุที่เราสามารถจัดเสียงที่เปนสระผสม 3 สวน

                           เปนสระผสมสองสวน +  พยัญชนะทายพยางค  [ j ,  w ]  ในภาษาไทย เมื่อเปนเชนนี้ การจัดเสียงกึ่งสระ
                          เปน [- consonant , - vocalic]  ตามระบบของเอสพีอีสําหรับภาษาไทย  ก็คงจะไมถูกสัทลักษณของเสียง

                           [j , w]  ในภาษาไทย คงจะตองจัดเปน  [+consonant , -vocalic] จึงจะถูกตอง

                                        9.3.4  พยัญชนะควบกล้ํา (consonant cluster) สําหรับพยัญชนะตนเสียงควบกล้ําใน
                                               ภาษาไทยนั้น เราสามารถจําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้


                                               9.3.4.1  เสียงควบกล้ําแท (True Cluster)
                                                      คือเสียงพยัญชนะทั้งสองเสียงในตําแหนงตนพยางค แยกจากกัน
                                                      ไมไดในการเขียนแผนภูมิโครงสราง เราจะไดลักษณะดังนี้

                                                      (Tumtavitikul, 1992)

                           (10)                             σ


                                                      O     R

                                                      C


                                                        [ t       r ] ….

                                        เชนเสียง  [tr]  ในคําวา  “ตรี”  [trii]  หรือเสียง  [kl]  ในคําวา “กลาง”  [klaa0]
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108