Page 101 -
P. 101
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
94 สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 9 ทฤษฎีโครงสรางการเนนพยางค
(4) ก. σ ข. σ ค. σ ง. σ
O R O R O R O R
[ l ] สําหรับ “ล” [ p ] สําหรับ “พ” [ t ] สําหรับ “ต” [ k ] สําหรับ “ก”
h
9.3 พยางคไทย
9.3.1 โครงสรางพยางค
พยางคไทยมีโครงสราง (syllable structure) ในชั้นผิว (surface form) คือในชั้น
ที่เราพูดและไดยินเสียงจริง (phonetic form) ดังนี้
(5) C (C ) { V (V ) (C )}
1
2
1
3
2
มีโครงสรางที่เปนไปไดทั้งหมด ดังนี้
(6) ก. C V , C V V , C V C , C V V C
1 1 3
1 1 2
1 1
1 1 2 3
ข. C C V , C C V V , C C V C , C C V V C
1 2 1 2 3
1 2 1 3
1 2 1 2
1 2 1
9.3.2 ขอจํากัดของพยางค (syllable structure constraints)
ขอจํากัดของพยางคไทยมีดังนี้
9.3.2.1 พยัญชนะเสียงควบกล้ําในตําแหนงตนพยางค (onset) จะตองเปนเสียง
ใดเสียงหนึ่งในสามเสียงนี้เทานั้น คือ { l, r, w } และหากเสียงกล้ําเปน w
พยัญชนะตนตองเปน [ k ] หรือ [ k ] เสียงใดเสียงหนึ่งเทานั้น
h
(7) C = { l, r, w }
2
h
If [w] , then C = { k, k } (Lukasneeyanawin, 1993)
1
9.3.2.2 พยัญชนะสองเสียงในตําแหนงตนพยางค (onset) จะเปน [+son] ทั้งคู
หรือ [-son] ทั้งคูไมได เชน *pt หรือ *kk หรือ *rn คือในภาษาไทย ไมมีเสียง
กล้ําตนพยางคที่เปนเสียงกักทั้งคู หรือเปนเสียงเปด (approximant) ทั้งคู
(8) * [ α son ] [α son ]
σ